Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชิดชนก เชิงเชาว์-
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ-
dc.contributor.advisorมัฮดี แวดราแม-
dc.contributor.authorอิบตีซัม อิแอ-
dc.date.accessioned2023-04-12T09:39:05Z-
dc.date.available2023-04-12T09:39:05Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17969-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop of measurement scale on Life and Career Skill in the 21st Century of Community College Students in the Three Southern Border Provinces by applying polytomous Item response theory. and 2) to examine the quality of measurement scale on Life and Career Skill in the 21st Century of Community College Students in the Three Southern Border Provinces by applying polytomous Item response theory. The samples were 600 associated degree 3 Students at Community College in academic year 2020 the Three Southern Border Provinces selected by stratified random sampling technique was calculated by means of interpolation. The instrument was characterized as a multiple-choice scenario model with 4 options. And has more than two scoring characteristics, with rubric ratings ranging. Test Theory (CTT) by construct validity, discrimination and reliability with Cronbach's alpha coefficient, and the quality of the measurement scale by parameter testing was accomplished by confirmatory factor analysis (CFA) and parameter testing was accomplished by Polytomous (IRT), with discriminant and difficulty, and test information (TIF) was conducted via Grade Response Model (GRM), respectively. The research findings were as follows: 1. The measurement scale on life and career skills in the 21st century consisted of five factors: flexibility and adaptability, initiative and self-direction, social and cross-cultural skills, productivity and accountability and leadership and responsibility. The construct validity approved by experts was between 0.80 to 1.00. All the items discrimination with has 49 item has 0.923. The results were consistent of the empirical data 2= 9.06, df = 4, P-value = 0.05962, RMSEA = 0.113, RMR = 0.43, CFI = 0.98, GFI = 0.96 The weight of Standard factor was between 0.38 to 0.87 Internal consistency reliability (R2) were between 0.15 and 0.76. 2. When examining the quality of the measurement based on the Polytomous IRT. The slope parameter (α) is between 0.52 to 5.82 and the difficulty value the threshold value of each item (β) which all of the values in ascending items and the reliability of the measurement scale using Marginal Maximum-Likelihood (MML) showed that reliability of the test was 0.9737. Moreover, the value of test information indicated that test was appropriate to assess students competency whose competency θ was between -1.0 to 1.0 or the students of medium competency levels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการพัฒนาแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาคen_US
dc.subjectทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษที่ 21en_US
dc.subjectทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาคen_US
dc.subjectวิทยาลัยชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้en_US
dc.subjectนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนen_US
dc.subjectวิทยาลัยชุมชน นักศึกษาen_US
dc.titleการพัฒนาแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาคen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Measurement Scale on Life and Career Skill in the 21st Century of Community College Students in the Three Southern Border Provinces by Applying Polytomous Item Response Theoryen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Measurement and Educational Research)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษ ที่ 21 ของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี การตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาค 2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎี การตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นนักศึกษาในระดับชั้นปีที่ 3 จำนวน 600 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยเป็นแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 มีลักษณะเป็นแบบวัดเชิงสถานการณ์ ตามระดับพฤติกรรมบ่งชี้แบบรูบริคส์โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน 4 ระดับ ได้ตรวจสอบคุณภาพโดยใช้ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (CTT) ความตรงเชิงเนื้อหา ค่าอำนาจจำแนก และวิเคราะห์ความเที่ยงด้วยการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค และตรวจสอบคุณภาพด้วยวิธีการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างโดยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) และด้วยวิธีการตรวจสอบตามทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาค (Polytomous IRT) ด้วย Grade response model (GRM) ในการตรวจสอบพารามิเตอร์ของแบบวัด ได้แก่ อำนาจจำแนก (α) ความยาก (β) และสารสนเทศของแบบวัด (TIF) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบวัดทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ ทักษะความยืดหยุ่นและความสามารถในการปรับตัว (flexibility and adaptability) ทักษะการริเริ่มและการกำกับตนเอง (initiative and self-direction) ทักษะทางสังคมและพหุวัฒนธรรม (social and cross-cultural skills) ทักษะความรับผิดชอบในการทำงานและการทำงานอย่างมีผลิตภาพ (productivity and accountability) และทักษะภาวะความเป็นผู้นำและความรับผิดชอบต่อสังคม (leadership and responsibility) ตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างโดยผู้เชี่ยวชาญ มีค่าตั้งแต่ 0.80 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกผ่านเกณฑ์คัดเลือก จำนวน 49 ข้อ และความเที่ยงของแบบวัดทั้งฉบับ เท่ากับ 0.923 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษที่ 21 ด้วยวิธีการตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง โดยใช้วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า มีความเหมาะสมสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยค่าดัชนีความสอดคล้องกลมกลืน ประกอบด้วย 2= 9.06, df = 4, P-value = 0.05962, RMSEA = 0.113, RMR = 0.43, CFI = 0.98, GFI= 0.96 แต่ละองค์ประกอบหลัก มีค่าน้ำหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ระหว่าง 0.38 – 0.87 โดยค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของตัวแปรสังเกตได้ (R2) อยู่ระหว่าง 0.15 – 0.76 2. ผลการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดตามทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบพหุวิภาค (Polytomous IRT) พบว่า ค่าอำนาจจำแนกรายข้อ (α) มีค่าอยู่ระหว่าง 0.52 ถึง 5.82 ค่าความยาก (β) ของแต่ละรายการคำตอบ มีค่าเรียงลำดับจากน้อยไปมากทุกข้อ และการประมาณค่าความเที่ยง โดยวิธี Marginal Maximum-Likelihood (MML) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.9737 สำหรับค่าฟังก์ชันสารสนเทศของแบบวัดทักษะชีวิตและการทำงานในศตวรรษที่ 21 พบว่า ข้อคำถามวัดทักษะชีวิต และการทำงานในศตวรรษที่ 21 ได้ดีกับนักศึกษาที่มีความสามารถ ระหว่าง -1.0 ถึง 1.0 นั่นคือ มีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับนักศึกษาที่มีความสามารถระดับปานกลางen_US
Appears in Collections:276 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6020120257.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons