Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกษตรชัย และหีม-
dc.contributor.authorฐิติรัตน์ ช่างทอง-
dc.date.accessioned2023-04-12T08:40:48Z-
dc.date.available2023-04-12T08:40:48Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17961-
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม), 2564en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) To study the depression level of the elderly of Nakhon Si Thammarat Province 2) To study the relationship between psychosocial factors, perception and social support related to depression of the elderly of Nakhon Si Thammarat Province and 3) To study psychosocial factors, perception and social support affecting depression of the elderly of Nakhon Si Thammarat Province. The data were collected from relevant documents and questionnaires from the field by collecting data from the sample by using a multi-stage randomization. The data were collected from 240 participants and analyzed Pearson correlation and multiple regression. The results of the research were as follows. 1) The elderly in Nakhon Si Thammarat province had a mean of moderate depression (Mean = 1.40). 2) The lack of self-esteem, the life dissatisfaction, the perception of lack of family support was positively correlated with depression among the elderly. The spiritual discomfort, the perception of inability to perform routine, the perception of inability to maintain physical, attitude. the negative to death, the lack of information support there was a statistically significant positive correlation with depression among the elderly. and the lack of support for medical services, the lack of support for studies services and the lack of income and work support were statistically significantly associated with depression among the elderly of Nakhon Si Thammarat Province. 3) Five statistically significant factors affecting Depression of the elderly Nakhon Si Thammarat Province: The lack of self-esteem (X1), the spiritual discomfort (X2), the perceptions of inability to care for health (X6), the lack of health information support (X8), the lack of support for educational services (X10).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectปัจจัยจิตสังคมen_US
dc.subjectการรับรู้en_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectภาวะซึมเศร้าen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectความซึมเศร้าในวัยสูงอายุen_US
dc.titleปัจจัยจิตสังคม การรับรู้ และการสนับสนุนทางสังคมที่มีผลต่อ ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราชen_US
dc.title.alternativePsychosocial Factors, Perception and Social Support Affecting Depression in the Elderly in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจิตสังคม การรับรู้ และการสนับสนุนทางสังคมที่มีสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3) เพื่อศึกษาปัจจัยจิตสังคม การรับรู้ และการสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใช้ระเบียบการวิจัยเชิงปริมาณ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกับผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 240 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมอาร์เพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และค่าสัมประสิทธิ์สหพันธ์พหุคูณเชิงเส้น ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) ผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราชมีค่าเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าอยู่ในระดับปานกลาง (X= 1.40, S.D=0.36) 2) การไม่เห็นคุณค่าในตนเอง (r= 0.35) ความไม่พึงพอใจในชีวิต (r=0.30) การรับรู้ว่าขาดการช่วยเหลือจากครอบครัว (r=0.24) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ความไม่ผาสุกทางจิตวิญญาณ (r=0.20) การรับรู้ว่าไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตร (r=0.20) การรับรู้ว่าไม่สามารถดูแลสุขภาพ (r=0.19) ทัศนคติเชิงลบต่อความตาย (r=0.18) การไม่ได้รับการสนับสนุนข้อมูลข่าวสาร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=0.15) กรไม่ได้รับการสนับสนุนการบริการการแพทย์ (r=0.15) การไม่ได้รับการสนับสนุนการบริการการศึกษา (r=0.14) และการไม่ได้รับการสนับสนุนรายได้และการทำงาน (r=0.13) มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ทางสถิติที่ระดับ .01 มีทั้งหมด 5 ตัวแปร คือ การไม่เห็นคุณค่าในตนเอง ด้านความไม่ผาสุกทางจิตวิญญาณ การรับรู้ว่าไม่สามารถดูแลสุขภาพ การไม่ได้รับการสนับสนุนข้อมูลข่าวสาร การไม่ได้รับการสนับสนุนการบริการการศึกษา โดยการไม่ได้รับการสนับสนุนการบริการการศึกษา (β=0.108) ส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุสูงที่สุด รองลงมาคือ การไม่เห็นคุณค่าในตนเอง (β=0.101) ความไม่ผาสุกทางจิตวิญญาณ (β=0.080) การไม่ได้รับการสนับสนุนข้อมูลข่าวสาร (β=0.075) การรับรู้ว่าไม่สามารถดูแลสุขภาพ (β=0.072)en_US
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6211120008.pdf6.52 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons