Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรฎา มาตยากร-
dc.contributor.authorนัฐนรี ศรีชัย-
dc.date.accessioned2023-03-03T07:36:24Z-
dc.date.available2023-03-03T07:36:24Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17890-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนามนุษย์และสังคม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564en_US
dc.description.abstractThe objectives of the study were 1) to investigate happiness among students at Prince of Songkla University, Trang Campus; 2) to analyze factors influencing students’ happiness; and 3) to identify guidelines to promote happiness among students of Prince of Songkla University, Trang Campus. The subjects of this mixed method research were 200 undergraduate students of Prince of Songkla University, Trang Campus. The data were collected using a questionnaire and focus group discussions, and analyzed with mean, standard deviation, multiple regression, and content analysis. The study found that 1) The overall happiness of the students was at a high level (x̄ = 3.78, S.D. = 0.48), and 2) These factors were positively related to students’ happiness with statistical significance at the level of 0.01. and 3 variables were best predictors of happiness with statistical significance at the level of 0.01 which could together predict students’ happiness at 18% 3) Guidelines for happiness promotion are organizations of various types of activities for students to choose according to their skills and interests, and activities which promote happiness and relaxation without having to consider whether they are included in required extra-curricular activities and would affect academic performance. Moreover, there should be more spaces on campus that are up-to-date and available for self-learning at all time, more spaces for group work, and facilities that reduce stress with physicians and consulting psychologists available for students to consult. Last, the factor that would contribute more happiness to students is still attach importance to flexibility of university policy, rules and regulations to facilitate dormitory life or use of university sports and exercise facilities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectHappinessen_US
dc.subjectstudentsen_US
dc.subjectPrince of Songkla Universityen_US
dc.subjectTrang Campusen_US
dc.subjectความสุขen_US
dc.subjectนักศึกษาen_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรังen_US
dc.title.alternativeFactors Influencing Student Happiness of Prince of Songkla University Trang Campusen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสุขของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสุขของนักศึกษา 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการส่งเสริมความสุขของนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง การวิจัยนี้เป็นรูปแบบผสมผสาน (Mixed Method) ตัวอย่างเป็นนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง จำนวน 200 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์กลุ่ม แบบ Focus group วิเคราะห์ข้อมูลค่าสถิติโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ และวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) ความสุขของนักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.78, S.D. = 0.48) 2) ตัวแปรที่ดีที่สุดในการพยากรณ์ความสุข 3 ตัวแปร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถร่วมกันพยากรณ์ความสุขของนักศึกษาได้ร้อยละ 18 คือ การรู้จักปรับตัว ความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ตนเอง และการได้รับการยอมรับจากเพื่อน 3) แนวทางในการส่งเสริมความสุข คือ การจัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะด้านการปรับตัว การเข้าสังคม สามารถให้นักศึกษาเลือกเข้าร่วมกิจกรรมได้ตามความถนัดและความสนใจ ในลักษณะกิจกรรมที่เสริมสร้างความสุขควบคู่ไปพร้อมกับกิจกรรมที่ผ่อนคลายความเครียด โดยไม่ต้องคำนึงถึงระเบียบของกิจกรรมเสริมหลักสูตร และไม่ส่งผลกระทบต่อการศึกษา การเพิ่มพื้นที่ในมหาวิทยาลัยให้ทันสมัยพร้อมกับการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดเวลา พื้นที่ทำกิจกรรมทำงานกลุ่ม รวมถึงสถานที่ปลดปล่อยความเครียดมีระบบหมอ หรือนักจิตวิทยาที่คอยรับฟังปัญหาหรือให้คำแนะนำต่าง ๆ เมื่อนักศึกษาต้องการ และประเด็นสุดท้ายที่จะส่งเสริมความสุขให้กับนักศึกษาให้มีความสุขยิ่งขึ้น คือ ความยืดหยุ่นด้านนโยบาย และกฎระเบียบต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยให้เอื้ออำนวยกับการใช้ชีวิตในหอพัก หรือลดการเก็บค่าบริการการใช้สถานที่ออกกำลังกายของมหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6111121030.pdf7.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons