Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17887
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนันทา เหมทานนท์ | - |
dc.contributor.author | สุพัตรา เนื้ออ่อน | - |
dc.date.accessioned | 2023-03-03T06:57:58Z | - |
dc.date.available | 2023-03-03T06:57:58Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17887 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2564 | en_US |
dc.description.abstract | This research aimed to study the priorities of content marketing electronic word of mouth (E-WOM) and brand attitudes of customers via social media (Instagram) in Thailand. To study the influence of content marketing on repurchasing of customers via social media (Instagram) in Thailand. To study the influence of electronic word of mouth (E-WOM) on repurchasing of customers via social media (Instagram) in Thailand. And to study the influence of brand attitudes on repurchasing of customers via social media (Instagram) in Thailand. The author employed a questionnaire as a tool to collect data. The population for the study were 385 Thai customers who had purchased beauty cosmetics sold online, but never used Instagram as a purchase platform before. descriptive statistics included frequency, mean, standard deviation, inferential statistics, and the multiple regress the were used to describe the study results in addition. The study was found that most single females, aged between 21 to 25, studying at the ungraduated level of that time while the data were collected, self-employed, earning monthly salary range between 10,001-20,000 Thai Baht and residing in the South of Thailand which are likely to use Instagram Stories and most did not have the name of favorite cosmetics products or regular purchases through the storefront and the data analysis was used by the multiple regression which were found that the factors of E-WOM (Beta=0.503, t=8.558) customers’ brand attitudes (Beta = 0.177, t = 2.919) were the main factors for customers’ repurchase intentions via social media (Instagram) at the statistical significance of 0.05. However, there was no apparent influence on customers ‘repurchase intentions on Instagram regarding to the content marketing factors also, this study was suggested that the brand owners considered the factors of E-WOM and the brand attitudes towards the repurchasing intentions via social media into the account as the factors that increase the customers’ behavior in repurchasing intention | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การตลาดเชิงเนื้อหา | en_US |
dc.subject | การสื่อสารแบบปากต่อปากอิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.subject | การตั้งใจซื้อซ้ำ | en_US |
dc.subject | ทัศนคติต่อตราสินค้า | en_US |
dc.subject | อินสตาแกรม | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | การเลือกของผู้บริโภค | en_US |
dc.title | อิทธิพลของการตลาดเชิงเนื้อหา การสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์และทัศนคติต่อตราสินค้าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม)ของ ผู้บริโภคในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | The Influences of Content Marketing Electronic Word of Mouth (E-WOM) and Brand Attitudes on Repurchase Intentions Via Social Media (Instagram) of Consumer in Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของตัวแปรการตลาดเชิงเนื้อหา การสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์(E-WOM) และทัศนคติต่อตราสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในประเทศไทย เพื่อศึกษาอิทธิพลของการตลาดเชิงเนื้อหาที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในประเทศไทย เพื่อศึกษาอิทธิพลของการสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์(E-WOM) ที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในประเทศไทย เพื่อศึกษาอิทธิพลของทัศนคติต่อตราสินค้าที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในประเทศไทย ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างที่คือผู้บริโภคในประเทศไทย ที่เคยซื้อสินค้าเครื่องสำอางผ่านหน้าร้านแต่ไม่เคยซื้อสินค้าเครื่องสำอางดังกล่าวที่นำเสนอผ่านอินสตาแกรมมาก่อน จำนวน 385 คน ซึ่งนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน โดยใช้การวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21-25 ปี การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี สถานภาพโสด ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นเจ้าของกิจการหรืออาชีพอิสระ รายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,001-20,000 บาท มีพฤติกรรมที่ชื่นชอบในการใช้ Instagram คือ Story IG และส่วนใหญ่จะไม่มีชื่อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ชื่นชอบหรือซื้อประจำผ่านหน้าร้าน และผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์(Beta = 0.503, t = 8.558) ปัจจัยด้านทัศนคติต่อตราสินค้า(Beta = 0.177, t = 2.919) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในประเทศไทย มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แต่ในส่วนของปัจจัยด้านการตลาดเชิงเนื้อหาไม่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำสินค้าผ่านสังคมออนไลน์ (อินสตาแกรม) ของผู้บริโภคในประเทศไทย ดังนั้น เจ้าของตราสินค้าหรือผู้ประกอบการควรที่จะตระหนักถึงปัจจัยด้านการสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์และปัจจัยด้านทัศนคติต่อตราสินค้ามากขึ้น เนื่องจากปัจจัยดังกล่าวเป็นส่วนช่วยให้ผู้บริโภคเกิดพฤติกรรมการตั้งใจซื้อซ้ำได้เพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | 460 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6110521055.pdf | 1.29 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License