Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17866
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พวงสร้อย วรกุล | - |
dc.contributor.author | อัมรัน สาแหละ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T08:48:21Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T08:48:21Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17866 | - |
dc.description | ศศ.ม. (จิตวิทยา), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This research is a descriptive study that aimed to (1) study the level of positive psychology, social support, and work motivation of public health officers in the three Southern border provinces (2) A comparative study of differences of personal factors and motivation for work of health officers in the three southern border provinces (3) study the correlation of positive psychology, social support, and work motivation of public health officers in the three Southern border provinces, and (4) study the factors affecting the work motivation of public health officers in the three Southern border provinces The sample of the study was 480 public health officers working in the three Southern border provinces, The research instrument was a 4 part questionnaire including (1) personal data, (2) positive psychology, (3) social support, and (4) work motivation . Data ware analyzed using descriptive statistics. The results showed that (1) levels of factors in positive psychology, social support, and work motivation of public health officers in the three Southern border provinces were all high (x ̅=3.83, S.D. = 0.37, x ̅ = 3.83 S.D. = 0.53 and x ̅= 3.96 S.D. = 0.37) respectively (2) Differences between personal factors and average work motivation, age, length of service and average monthly income. The mean motivation for work was statistically different at 0.01 level, marital status and job position were significantly different at 0.05 (3)The factor in positive psychology obtained positive correlation with work motivation at the moderate level (r= 0.561) with the statistics significance at the level of 0.01 For the factor in social support it obtained positive correlation with work motivation at the moderate level (r= 0.593) with the statistics significance at the level of 0.01 (4) Positive Psychological Factors social support Able to predict the motivation of health officials in the three southern border provinces by 51.5% (R= 0.515) by The factors in positive psychology and social support were able to predict work motivation of public health officers in the three Southern border provinces as positive psychology was able to predict work motivation obtaining a coefficient of 0.426 (B=0.426) with the statistics significance at the level of 0.01 and the Social support was able to predict work motivation of the sample obtaining a coefficient of 0.329 (B=0.329) with the statistics significance at the level of 0.01 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | จิตวิทยาเชิงบวก | en_US |
dc.subject | การสนับสนุนทางสังคม | en_US |
dc.subject | แรงจูงใจในการทำงาน | en_US |
dc.subject | เจ้าหน้าที่สาธารณสุข | en_US |
dc.title | ปัจจัยด้านจิตวิทยาเชิงบวกการสนับสนุนทางสังคมที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงาน ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Positive Psychological Factors and Social Support Affecting Public Health Officers Working Motivation in Three Southern Border Provinces | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Psychology and Counseling) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา วัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาระดับจิตวิทยาเชิงบวก การสนับสนุนทางสังคมและแรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) ศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของจิตวิทยาเชิงบวก การสนับสนุนทางสังคม กับแรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (4) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 4 ส่วน ประกอบด้วย (1) ข้อมูลส่วนบุคคล (2) จิตวิทยาเชิงบวก (3) การสนับสนุนทางสังคม (4) แรงจูงใจในการทำงาน การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับปัจจัยด้านจิตวิทยาเชิงบวก การสนับสนุทางสังคม และแรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้อยู่ในระดับสูงทุกด้าน(x ̅ = 3.83, S.D. = 0.37, x ̅ = 3.83 S.D. = 0.53 และx ̅ = 3.96 S.D.= 0.37) ตามลำดับ (2) ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับค่าเฉลี่ยแรงจูงใจในการทำงานอายุ ระยะเวลาปฏิบัติงานและรายได้เฉลี่ยต่อเดื่อน มีค่าเฉลี่ยแรงจูงใจในการทำงานต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 (3) ปัจจัยด้านจิตวิทยาเชิงบวก มีความสัมพันธ์ทางบวกกับแรงจูงใจในการทำงานในระดับ ปานกลาง (r = 0.561) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 การสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับแรงจูงใจในการทำงานในระดับปานกลาง (r = 0.593) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) ปัจจัยด้านจิตวิทยาเชิงบวก การสนับสนุนทางสังคม สามารถพยากรณ์แรงจูงใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ร้อยละ 51.5 (R= 0.515)โดยปัจจัยด้านจิตวิทยาเชิงบวก สามารถพยากรณ์แรงจูงใจในการทำงานได้ค่าสัมประสิทธิ์ 0.426 (B = 0.426 ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และการสนับสนุนทางสังคมสามารถพยากรณ์แรงจูงใจในการทำงานของกลุ่มตัวอย่างได้ค่าสัมประสิทธิ์ 0.329 (B = 0.329) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | en_US |
Appears in Collections: | 286 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6020121006.pdf | 1.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License