Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17863
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วันธณี วิรุฬห์พานิช | - |
dc.contributor.author | อุษา จันทร์สุทธิ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-02-27T08:20:17Z | - |
dc.date.available | 2023-02-27T08:20:17Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17863 | - |
dc.description | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเด็ก), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This cross-over quasi-experimental research design aimed to study the effect of a rubber nest mattress innovation on sleep quality and physiological change in preterm infants. Twenty-three preterm infants with 32-36 weeks of gestational age, admitted in the Neonatal Moderate Intensive Care Unit, Hat Yai Hospital, during October 2020-June 2021 were drawn using purposive sampling without replacement and allocated randomly into: pattern 1) sleep on the rubber nest mattress on day 1 and sleep on a cloth nest mattress on day 2, and pattern 2) sleep on a cloth nest mattress on day 1 and sleep on the rubber nest mattress on day 2. The experiment was begun at the same time of day. Sleep-wake behavior was recorded by video camera and the vital signs were recorded every 10 minutes from 5.00-6.00 p.m. The video tape was then interpreted for the sleep duration. The instruments for data collection were 1) demographic data record form, 2) sleepwake behaviors of premature infant assessment form, and 3) environment and preterm infant’s vital signs record form. The content validity of the tools was verified by experts. Inter-rater reliability of the sleep-wake behaviors assessment between the expert and the researcher, and also between the researcher and the research assistant were tested, yielding a percentage of agreement of 95.0% and 98.33%, respectively. The demographic data were analyzed using descriptive statistics. The mean of sleep-wake duration and vital signs of preterm infants were compared between when on the rubber nest mattress and when on a cloth nest mattress using paired t-test. The results revealed that 1. The mean score of total sleep duration and deep sleep duration of preterm infants were significantly longer while they were on the rubber nest mattress than while they were on a cloth nest mattress (t = -3.46, p < .05; t = -4.40, p < .05, respectively). The active sleep duration of preterm infants while they were on each type of nest mattress was not significantly different (t = -.46, p > .05) 2). The mean score of vital signs of preterm infants while they were on the rubber nest mattress and cloth nest mattress showed that 2.1 The mean score of body temperature of preterm infants while they were on each type of nest mattress was not significantly different (t = .97, p > .05) 2.2 The mean score of respiratory rate and heart rate while they were on the rubber nest mattress were significantly lower than while they were on a cloth nest mattress (t = 2.40, p < .05; t = 3.78, p < .05, respectively). 2.3 The mean score of oxygen saturation while they were on the rubber nest mattress was significantly higher than while they were on a cloth nest mattress (t = -4.56, p < .05) The results showed that the sleep quality of preterm infants who were put on the rubber nest mattress was improved, including having longer total sleep duration and deep sleep duration. Therefore, using rubber nest mattress in caring for preterm infants admitted in hospital is one method to help promote growth and development of preterm infants appropriately. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ที่นอนรังนกยางพารา | en_US |
dc.subject | ทารกเกิดก่อนกำหนด | en_US |
dc.subject | คุณภาพการนอนหลับ | en_US |
dc.subject | การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา | en_US |
dc.subject | ทารกคลอดก่อนกำหนด | en_US |
dc.title | ผลของนวัตกรรมที่นอนรังนกยางพาราต่อคุณภาพการนอนหลับและการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในทารกเกิดก่อนกำหนด | en_US |
dc.title.alternative | The Effect of Rubber Nest Mattress Innovation on Sleep Quality and Physiological Change in Preterm Infants | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Nursing (Pediatric Nursing) | - |
dc.contributor.department | คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยกึ่งทดลองแบบไขว้กลุ่ม (cross-over quasi-experimental research) เพื่อ ศึกษาผลของนวัตกรรมที่นอนรังนกยางพาราต่อคุณภาพการนอนหลับและการเปลี่ยนแปลงทาง สรีรวิทยาในทารกเกิดก่อนก าหนดอายุครรภ์ 32-36 สัปดาห์ ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยกึ่งวิกฤติ ทารกแรกเกิด โรงพยาบาลหาดใหญ่ ช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 ถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 จ านวน 23 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่ก าหนด ด าเนินการทดลอง โดยการสุ่มแบบแผนการทดลองด้วยวิธีจับฉลากแบบไม่ใส่คืน แบ่งเป็นแบบแผนที่ 1 คือ นอนบน ที่นอนรังนกยางพาราในวันแรกและนอนบนที่นอนรังนกผ้าอ้อมในวันที่สอง และแบบแผนที่ 2 คือ นอนบนที่นอนรังนกผ้าอ้อมในวันแรกและนอนบนที่นอนรังนกยางพาราในวันที่สอง กลุ่มตัวอย่าง ทกคนไดรบการทดลองทง 2 เหตการณโดยทาการทดลองวนละ 1 เหตการณ ในชวงเวลาเดยวกน บันทึกพฤติกรรมการหลับตื่นด้วยเทปวิดีทัศน์และบันทึกสัญญาณชีพของทารกเกิดก่อนก าหนดทุก 10 นาท ตงแตเวลา 17.00-18.00 น. จากนนนาเทปวดทศนมาแปลผลเปนระยะเวลาการนอนหลบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของทารกเกิดก่อน ก าหนด แบบประเมินระยะหลับตื่นของทารกเกดกอนกาหนดและแบบบนทกขอมลสงแวดลอม และสญญาณชพของทารกเกดกอนกาหนด โดยเครองมอทงหมดผานการตรวจสอบความตรงเชง เนอหาโดยผทรงคณวฒ ตรวจสอบความเทยงโดยการทดสอบความเทาเทยมกนของการสงเกต (inter-rater reliability) ระหว่างผู้วิจัยกับผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินพฤติกรรมการหลับตื่นของ ทารกเกิดก่อนก าหนด ได้ค่าความเที่ยงเฉลี่ยที่เห็นพ้องกัน (percentage of agreement) ร้อยละ 95 และระหว่างผู้วิจัยกับผู้ช่วยวิจัยได้ค่าความเที่ยงเฉลี่ยที่เห็นพ้องกันร้อยละ 98.33 วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติเชิงบรรยาย วิเคราะห์การหลับตื่นและสัญญาณชีพของทารกเกิดก่อนกำหนดโดยการหาค่าต ่าสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของระยะเวลาการหลับตื่นและสัญญาณชีพของทารกเกิดก่อนก าหนดใน ระหว่างนอนในที่นอนรังนกยางพารากับที่นอนรังนกผ้าอ้อมโดยใช้สถิติทีคู่ (Paired t-test) ผลการศึกษาพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยระยะหลับรวมและระยะหลับลึกของทารกเกิดก่อนก าหนดขณะนอนบน ที่นอนรังนกยางพารามากกว่าขณะนอนบนที่นอนรังนกผ้าอ้อมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (t = -3.46 , p < .05; t = -4.40, p < .05 ตามล าดับ) สวนระยะหลบตนของทารกเกดกอนกาหนดขณะนอนบน ทนอนรงนกทงสองประเภทไมแตกตางกนอยางมนยสาคญทางสถต (t = -.46, p > .05) 2. ค่าเฉลี่ยของสัญญาณชีพของทารกเกิดก่อนก าหนดขณะใช้ที่นอนรังนกยางพารา และที่นอนรังนกผ้าอ้อม พบว่า 2.1 ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิร่างกายของทารกเกิดก่อนก าหนดขณะที่นอนบน ทนอนรงนกทงสองประเภทไมแตกตางกนอยางมนยสาคญทางสถต (t = .97, p > .05) 2.2 ค่าเฉลี่ยของอัตราการหายใจและอัตราการเต้นของหัวใจของทารกเกิด ก่อนก าหนดขณะนอนบนที่นอนรังนกยางพาราต ่ากว่านอนบนที่นอนรังนกผ้าอ้อม อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติ (t = 2.40, p < .05; t = 3.78, p < .05 ตามล าดับ) 2.3 คาเฉลยของความอมตวของออกซเจนในเลอดของทารกเกดกอน ก าหนดขณะนอนบนที่นอนรังนกยางพาราสูงกว่านอนบนที่นอนรังนกผ้าอ้อม อย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติ (t = -4.56, p < .05) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าทารกเกิดก่อนก าหนดที่นอนบนที่นอนรังนกยางพารามี คณภาพการนอนหลบเพมขน โดยทารกมระยะหลบรวมและระยะหลบลกยาวนานขน ดงนนการนา ที่นอนรังนกยางพารามาใช้ในการดูแลทารกเกิดก่อนก าหนดที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เป็น วิธีการหนึ่งในการดูแลเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกเกิดก่อนกำหนดให้เหมาะสม | en_US |
Appears in Collections: | 645 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6110420055.pdf | 2.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License