Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17799
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิตติมา วิเชียรรักษ์-
dc.contributor.authorกลวัชร ภิรมรักษ์-
dc.date.accessioned2023-01-27T08:19:25Z-
dc.date.available2023-01-27T08:19:25Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17799-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the purchase intentions of battery electric cars of Generation Y. The population in this study was the Generation Y aged 25-42 years old in Songkhla Province, 400 people, using a questionnaire to collect data. data analysis was used the distribution of frequency, percentage, mean and standard deviation. To test the hypothesis, the researcher used Pearson Correlation statistics to prevent multicollinearity problems, T-test, one-way ANOVA, and multiple regression analysis were used to analyze factors affecting purchase intention of battery electric vehicles. The study found that most of the respondents were 236 females. The age of the respondents was 25-30 years old. Most of the respondents had a bachelor's degree or equivalent. Occupation of most respondents employed as a private employee and income of most respondents was 15,001 – 30,000 for gender personal factors. The study found that career and income factors affected the purchase intention of a battery electric vehicle. Males have a higher purchase intent than females. Attitude factors consist of cognition, feeling and behavior affected the purchase intention of battery electric vehicles. Marketing mix factors in terms of products and prices affected the purchase intention of a battery electric vehicle. This research suggests battery electric vehicle entrepreneurs or relevant government agencies. These factors should be considered as a guideline for the development of battery electric vehicles to be able to meet the needs of the Generation Y people so that battery electric cars are more popular.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่en_US
dc.subjectความตั้งใจซื้อen_US
dc.subjectGeneration Yen_US
dc.subjectจังหวัดสงขลาen_US
dc.titleปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ และส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อ รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ กรณีศึกษา : Generation Y ในพื้นที่จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativePersonal Characteristics, Attitudes and Marketing Mix Affecting Purchase Intentions of Battery Electric Vehicles: A Case Study of Generation Y in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ของ Generation Y โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ กลุ่มประชากร Generation Y หรือผู้ที่มีอายุ 25 – 42 ปี และอาศัยอยู่ในจังหวัดสงขลา จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการทดสอบสมมติฐานผู้วิจัยได้เลือกใช้สถิติสหสัมพันธ์ (Pearson Correlation) ตรวจสอบตัวแปรที่นำมาใช้ในการศึกษา เพื่อป้องกันถึงปัญหา multicollinearity ใช้การวิเคราะห์ลักษณะส่วนบุคคลด้วย t-test, One-way ANOVA และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) นำมาใช้ในการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน 236 คน อายุของผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ ช่วงอายุ 25 – 30 ปี ระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จบการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า อาชีพของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเป็นพนักงานเอกชน และรายได้ของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ จะมีได้รายอยู่ที่ 15,001 – 30,000 สำหรับปัจจัยส่วนบุคคลเพศ อาชีพและรายได้ มีผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ โดยเพศชายจะมีความตั้งใจซื้อมากกว่าเพศหญิง ปัจจัยด้านทัศนคติ ความรู้ความเข้า ความรู้สึก และพฤติกรรม มีผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในด้าน ผลิตภัณฑ์และราคา มีผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ งานวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้ผู้ประกอบการกิจการรถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่หรือหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ควรที่จะพิจารณาถึงปัจจัยเหล่านี้เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ ให้สามารถตอบสนองถึงความต้องการของกลุ่มคน Generation Y เพื่อให้รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ได้รับความนิยมแพร่หลายมากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310521032.pdf916.17 kBAdobe PDFView/Open
บทความ กลวัชร ภิรมรักษ์.pdf237.75 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons