Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุทัย ปริญญาสุทธินันท์-
dc.contributor.authorกมลวรรณ ไกรเทพ-
dc.date.accessioned2022-11-24T09:43:48Z-
dc.date.available2022-11-24T09:43:48Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17692-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (พัฒนามนุษย์และสังคม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2563en_US
dc.description.abstractThe objectives of this mixed method research was to find out management factors of Songkhla Forum. The study consisted of three phases. Phase 1 was qualitative research for which data were collected through in-depth interviews and Delphi method collecting data from nine experts comprising two academics, two network partners, three former officers of Songkhla Forum, and two youth participants of Songkhla Forum Project. They were asked to give three rounds of responses to the questionnaires to arrive at consensus. Then a research report was written using descriptive analysis. Phase 2 was quantitative research for which data were collected through a questionnaire responded by 140 respondents involved in Songkhla Forum. The sample size was 20 times all the variables consisting of seven variables. Phase 3 was qualitative research and data were gathered through focus group discussions on results of Phase 1 and Phase 2 to find out ways to strengthen citizenship of people in Songkhla Province. The study found that the management of citizenship of people in Songkhla Province consisted of five aspects: situational leadership, participation, competence, drive, and communication. Regarding citizenship, there were two aspects: citizenship as natives of Songkhla Province, and citizenship as part of Songkhla Province society. Data of each aspect were used to form a questionnaire and it was found that management factors of Songkhla Forum affecting citizenship of people in Songkhla Province comprising two aspects: situational leadership and organizational competencies. These factors had significantly positive relationships with citizenship which could lead to strengthening citizenship of people in Songkhla Province.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectกลุ่มสังคม สงขลาen_US
dc.subjectอำนาจชุมชน สงขลาen_US
dc.titleการจัดการสงขลาฟอรั่มเพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองของคนในจังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeManaging Songkhla Forum for Strengthening Citizenship of People in Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Liberal Arts (Educational Foundation)-
dc.contributor.departmentคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการจัดการสงขลาฟอรั่ม โดยมีการใช้วิธีวิจัย แบบผสมผสาน หรือ Mixed Method ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่หนึ่ง เป็นการวิจัยเชิง คุณภาพ โดยใช้การรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการรวบรวมข้อมูลจากการเดลฟาย ซึ่งการเดลฟายนั้นใช้เก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งหมด 9 คน แบ่งเป็น นักวิชาการ 2 คน ภาคี เครือข่าย 2 คน อดีตเจ้าหน้าที่ของสงขลาฟอรั่ม 3 คน และเยาวชนในโครงการของสงขลาฟอรั่ม 2 คน โดยการตอบแบบสอบถามทั้งหมด 3 รอบ จนกระทั่งได้ข้อมูลที่มีความสอดคล้องกันมากที่สุด และ เขียนรายงานผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ระยะที่สอง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับสงขลาฟอรั่ม โดย กําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากจํานวน 20 เท่าของตัวแปร ซึ่งมีทั้งหมด 7 ตัวแปร จึงได้กลุ่มตัวอย่าง ทั้งหมด 140 คน ระยะที่สาม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม เพื่อนําผลการวิจัยจาก 2 ระยะที่กล่าวไปข้างต้น มาร่วมกันหาแนวทางการเสริมสร้างความเป็น พลเมืองของคนในจังหวัดสงขลา ผลการวิจัย พบว่า การจัดการกับความเป็นพลเมืองของสงขลาฟอรั่ม ที่ได้จากการ สัมภาษณ์เชิงลึกและการตอบคําถามจากผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ ได้ประเด็นด้านการจัดการ ทั้งหมด 5 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้นําตามสถานการณ์ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านสมรรถนะ ด้านประเด็นที่ ขับเคลื่อน และด้านการสื่อสาร ส่วนประเด็นด้านความเป็นพลเมือง ทั้งหมด 2 ด้าน ได้แก่ ความเป็น พลเมืองในตัวเองของคนในจังหวัดสงขลา และความเป็นพลเมืองต่อสังคมของคนในจังหวัดสงขลา จากนั้นนําข้อมูลในแต่ละด้านสร้างเป็นแบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูล พบว่า ปัจจัยการจัดการ ของสงขลาฟอรั่มส่งผลต่อความเป็นพลเมืองของคนในจังหวัดสงขลา ประกอบด้วย 2 ด้าน ดังนี้ 1) ปัจจัยด้านภาวะผู้นําตามสถานการณ์ และ 2) ปัจจัยด้านสมรรถนะขององค์กร ซึ่งมีความสัมพันธ์ ทางบวกกับความเป็นพลเมือง และส่งผลต่อความเป็นพลเมืองของคนในจังหวัดสงขลาอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ และนําไปสู่การเสริมสร้างความเป็นพลเมืองของคนในจังหวัดสงขลาให้มีความ เข้มแข็งต่อไป-
Appears in Collections:895 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
440088.pdf13.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons