Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิเลาะ แวอุเซ็ง-
dc.contributor.authorยู่โสบ แขกพงศ์-
dc.date.accessioned2022-11-09T09:13:03Z-
dc.date.available2022-11-09T09:13:03Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17624-
dc.descriptionศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม), 2564en_US
dc.description.abstractThe objective of this research was to develop the current Murabbis towards operating student Tarbiyah of an Islamic Private Schools in Hatyai, Songkhla Province.This research was used Action Research (AR). An administrative staff and twelve Murabbis (together 13 people) were chosen as representatives of the whole people involved in the tarbiyah responsibility. Research tools consisted of group meeting for understanding and awareness, training workshop, learning exchange, and supervision. Data collection tools included the meeting satisfaction questionnaire to understand the administrative management of educational institutions to drive the development of Murobbis in operating student Tarbiyah, the workshop satisfaction assessment form of participants, After Action Review (AAR) and supervision record form. Data from was analyzed for mean, and standard deviation. The research results were as follow: 1. group meeting for understanding and awareness was a reflection space for Murabbis to share the problems and brought the discussed issues to design the operation of Tarbiyah. Furthermore, Murabbis were likely to be more knowledgeable, understanding, and responsible. 2. Training Workshop provided Murabbis with understanding of the core of Tarbiyah, the important Tarbiyah methods, prioritization, practicing, 3. In Group Discussion, all Murabbis engaged in giving opinions, problem discussing and solutions designing. This leaded Murabbis to be able to operate Tarbiyah according to the school’s curriculum. 4. Supervision, after the supervisor had supervised Murobbi teachers, they were able to develop their operations more efficiently, truly reflect the strengths and the problem points of Tarbiyah operation. This research was recommended to enhance the current Tarbiyah operation: learning exchange about student Tabiyah operation of Murabbis should be continuous. This was to allow each Murabbis could reflect among their own groups’ results that there were any mistakes or good ways to exchange and apply. Murabbis should study Tarbiyah operations with the good practical school in order to applied with their educational institutes more efficiently. Action research should be flexible and apply to the changing situations. Because the actual implementation may differ from the planned.en_US
dc.description.sponsorshipHATYAIWITTAYAKARN SCHOOLen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectมูร็อบบีย์ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาคารen_US
dc.subjectการพัฒนาครูมูร็อบบีย์en_US
dc.subjectครูมุสลิม สงขลาen_US
dc.titleการพัฒนาครูมูร็อบบีย์ในการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียน โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาคาร จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeMurobbi Teacher Development in Student's Tarbiyah Operation of Hatyaiwittayakarn School, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Islamic Sciences-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการอิสลาม-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครูมูร็อบบีย์ในการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียน โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยใช้วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารและครูโรงเรียนหาดใหญ่วิทยาคาร จำนวน 13 คน แบ่งออกเป็นผู้บริหารจำนวน 1 คน ครูมูร็อบบีย์จำนวน 12 คน ผ่านการดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนัก ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ขั้นนิเทศ เก็บรวบรวมผลการดำเนินการวิจัย โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจในการประชุมเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการของสถานศึกษาเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาครูมูร็อบบีย์ในการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียน แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการ แบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน และแบบบันทึกการนิเทศ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย ปรากฎดังนี้ 1. การประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนัก ผ่านเวทีการประชุมครูมูร็อบบีย์ทำให้ได้ประเด็นปัญหาที่แท้จริง สามารถนำผลทำให้ครูมูร็อบบีย์สะท้อนผลตามประเด็นปัญหาที่พบจริง และสามารถนำโจทย์ปัญหาที่ได้จากการสะท้อนผ่านเวทีการประชุมครูมูร็อบบีย์มาออกแบบการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียน อีกทั้งยังทำให้ครูมูร็อบบีย์มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความรับผิดชอบในบทบาทของการเป็นมูร็อบบีย์ 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการ ทำให้ครูมูร็อบบีย์มีความเข้าใจเนื้อหา ขั้นตอนและแนวทางการตัรฺบียะฮ์นักเรียน เครื่องมือที่สำคัญในการตัรฺบียะฮ์นักเรียน การลำดับความสำคัญ ฝึกปฏิบัติจริงและสามารถนำไปใช้กับการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียนต่อไป 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้ครูมูร็อบบีย์ทุกคนมีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาและการออกแบบการแก้ไขปัญหาในการขับเคลื่อนงานตัรฺบียะฮ์ของครูมูร็อบบีให้ครูมูร็อบบีย์สามารถดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียนได้ตามวัตถุประสงค์ 4. การนิเทศ ทำให้ครูมูร็อบบีย์สามารถพัฒนาการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์ให้มีประสิทธิภาพ สะท้อนจุดเด่นและจุดที่ยังเป็นปัญหาของการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์ของครูมูร็อบบีย์ งานวิจัยนี้ได้ให้ข้อเสนอแนะที่สำคัญ คือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียนของครูมูร็อบบีย์ ควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้ครูมูร็อบบีย์แต่ละคนได้สะท้อนผลประจำกลุ่มของตัวเอง ซึ่งอาจเกิดความผิดพลาด หรือมีวิธีการที่ดีแลกเปลี่ยนกันเพื่อนำประยุกต์ใช้ในกลุ่มของตนเองได้ ควรศึกษาดูงานการดำเนินงานตัรฺบียะฮ์นักเรียนในโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ควรใช้หลักการความยืดหยุ่นมาปรับใช้กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ทั้งนี้เนื่องจากการลงปฏิบัติการจริงอาจจะคลาดเคลื่อนไปจากแผนงานที่วางไว้en_US
Appears in Collections:761 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6220420118.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons