Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประทุมทิพย์ ทองเจริญ-
dc.contributor.authorปรินทร์ดา ชุมขวัญ-
dc.date.accessioned2022-10-31T09:55:42Z-
dc.date.available2022-10-31T09:55:42Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17567-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study performance efficiency according to Government Information Center Development Plan, Hat Yai City Municipality, Hat Yai district, Songkhla province, 2) to compare performance efficiency according to Government Information Center Development Plan, Hat Yai City Municipality, Hat Yai district, Songkhla province, classified by personal factors. The research was conducted on the basis of quantitative research design. The population was 50,597 people living in Community area 4. The sample was 399 people. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. Data were analyzed using statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation, t -test, F-test, LSD test, and one-way analysis of variance. The findings from the study revealed that 1) overall performance efficiency according to Government Information Center Development Plan Hat Yai City Municipality, Hat Yai district, Songkhal province was at a high level (X̅ = 3.60), facility factor had the highest mean score (X̅ = 3.61), followed by public relations policies and plans factor (X̅ = 3.60) while community leader factor had the lowest mean score (X̅ = 3.45), 2) comparison results of performance efficiency according to Government Information Center Development Plan Hat Yai City Municipality, Hat Yai district, Songkhal province, classified by personal factors, showed that there were no differences of the evaluation of the performance efficiency among people with different genders who live in different communities but there were differences of the evaluation of the performance efficiency among people with different ages, education levels, careers, and monthly income with the statistical significance level of 0.05. In this regard, people suggested that with regard to community leaders, activities should be held to enhance interaction between Government Information Center of Hat Yai City Municipality, community leaders, and people.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectประสิทธิผลen_US
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en_US
dc.subjectแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่en_US
dc.subjectเทศบาลนครหาดใหญ่en_US
dc.titleการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่จากมุมมองประชาชนในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeEvaluation of the Operational Effectiveness of the Information Center Development Plan of the Government of Hat Yai Municipality from the Perspective of People in Hat Yai District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชน 4 จำนวน 50,597 คน กลุ่มตัวอย่างที่เก็บแบบสอบถาม จำนวน 399 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง (t-test) สถิติทดสอบเอฟ (F-test) สถิติทดสอบ LSD และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X̅ = 3.60) โดยด้านสิ่งอำนวยความสะดวกมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅ = 3.61) รองลงมา คือ ด้านนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์ (X̅ = 3.60) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านผู้นำชุมชน (X̅ = 3.45) ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ประชาชนที่มีเพศต่างกัน อาศัยในชุมชนที่ต่างกัน มีการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาไม่แตกต่างกัน ขณะที่ประชาชนที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ รายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทั้งนี้ ประชาชนให้ข้อเสนอแนะว่าด้านผู้นำชุมชนควรมีการจัดกิจกรรมที่เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการเทศบาลนครหาดใหญ่ ผู้นำชุมชน และประชาชนen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons