Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17540
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุลวดี ลิ่มอุสันโน | - |
dc.contributor.author | ศรันย์ธร อุดมสินธุ์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-15T09:42:33Z | - |
dc.date.available | 2022-09-15T09:42:33Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17540 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to study street food consumption behavior of consumers traveling to Songkhla Province.And to study demographic factors related to street food consumption behavior of consumers in Songkhla Province.By using a survey method using a questionnaire with a sample group of 400 Thai and foreign tourists who traveled to Songkhla and used street food services. The data was analyzed by using statistic, frequency, percentage and chi-square test. The finding revealed that most of the questionnaire respondents were male with ages more than 33 years old, domicile in other provinces, single, graduated with a bachelor’s degree, Occupation of civil servants/state enterprises and having average monthly incomes of less than 10,000 baht.For the consumption behaviors, the frequency of comsumption of most consumers was more than 5 times,with friend/lover,there are a number of co-consumer members,mostly alone,at 18.00-19.00 pm,by private car,the average expense was around 50-100 baht,the average time it takes to consumer is about 30 minutes-1 hour,the reason for choosing to eat street food is because it is convenient to buy,the type of street food in Songkhla province that most of the samples chose to consume was fried sea bass and the type of media that consumers receive information about roadside food service in Songkhla province is recommended by friends. Considering the relations between demographic factors and street food consumption behavior in Songkhla province, it was found that sex, age, domicile, marital status, Education level, occupation and average monthly income correated with street food consumption behavior. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | ผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | อาหารริมทาง | en_US |
dc.title | แนวทางการบริการอาหารริมทาง จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for Street Food Service in Songkhla Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์การศึกษาเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารริมทางของผู้บริโภคที่เดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา และเพื่อศึกษาปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารริมทางของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา โดยใช้วิธีการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่เข้ามาเดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดสงขลาและใช้บริการอาหารริมทาง เป็นจำนวน 400 คน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-Square) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มผู้บริโภคอาหารริมทางในจังหวัดสงขลาจากส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ในช่วงมากกว่า 33 ปี ภูมิลำเนาอยู่ที่จังหวัดอื่น ๆ สถานภาพโสด จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท พฤติกรรมผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความถี่ในการบริโภคอาหารริมทางมากกว่า 5 ครั้ง ส่วนใหญ่จะไปกับเพื่อน/คู่รัก มีจำนวนสมาชิกร่วมบริโภคส่วนใหญ่เป็นคนเดียว ช่วงเวลาที่เลือกบริโภคเวลาประมาณ 18.00-19.00 น. จะเดินทางโดยวิธีรถยนต์ส่วนตัว มีค่าใช้จ่ายต่อครั้งประมาณ 50-100 บาท มีวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการบริโภคประมาณ 30 นาที - 1 ชั่วโมง ส่วนใหญ่เหตุผลในการเลือกรับประทานอาหาริมทางเนื่องจาก มีความสะดวกในการซื้อ ประเภทของอาหารริมทางจังหวัดสงขลาที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เลือกบริโภค คือ ปลากะพงทอด และประเภทของสื่อที่ผู้บริโภคได้รับข้อมูลการให้บริการอาหารริมทางจังหวัดสงขลาส่วนใหญ่ คือ เพื่อนแนะนำ ความสัมพันธุ์ระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารริมทาง ในจังหวัดสงขลา พบว่า เพศ อายุ ภูมิลำเนา สถานภาพทางการสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภคอาหารริมทาง | en_US |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310521020.pdf | 982.78 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License