Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17510
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพจน์ ปานรอด-
dc.contributor.authorสมฤทัย สินรักษา-
dc.date.accessioned2022-09-14T08:56:36Z-
dc.date.available2022-09-14T08:56:36Z-
dc.date.issued2018-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17510-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2561en_US
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the Factors Influencing the Intention of Purchase of Goods and Services via Internet : A Case study of Women in Hatyai District, Songkhla Province. This research is for finding a suitable way to be motivation how to increase purchasing and service via internet. The factors expect to be intention of goods and service via internet from technology acceptance model or TAM by adaption of education included external factors such as service quality, information quality, system quality, compatibility and experience. The sample group was 385 women by using survey questionnaire method such as frequency, percentage, mean, standard deviation and test the relationship between factors by Multiple regression analysis as limited the level of significance at 0.05 level. The research result found that (1) Most respondents are ladies aging between 26 and 32 years holding Bachelor’s degree, working as private company employee, earning monthly income between Baht 20,000 and Baht 30,000 (2) Service quality (β1 = 0.114), information quality (β2 = 0.214) and system quality (β3 = 0.541) are significant factors that influence the perceived non-complexity. (3) Compatiblity (β4 = 0.067), experience (β5 = 0.142) and perceived non-complexity (β6 = 0.655) are significant factors that influence the perceived usefulness. (4) Perceived non-complexity (β 7 =0.214) and perceived usefulness (β8 = 0.635) are significant factor that have influence on intention of Purchase of Goods and Services via Internet. Thus, entrepreneurs and government agencies should raise consumer awareness of perceived non-complexity, easy usability, and also the benefit of purchasing via internet. For example, enhancing website or web application, plan marketing promotion and public relations continuously which will stimulate an increase in purchase of goods and services via Internet.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectปัจจัยภายนอกen_US
dc.subjectการรับรู้ความไม่ซับซ้อน (ใช้งานง่าย)en_US
dc.subjectความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ตen_US
dc.subjectการรับรู้ประโยชน์en_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษากลุ่มผู้หญิง ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Factors Influencing the Intention of Purchase of Goods and Services via Internet : A Case study of Women in Hatyai District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษากลุ่มผู้หญิง ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมในการกระตุ้นให้เกิดการซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้น ปัจจัยที่คาดว่ามีผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต ได้มาจากทฤษฎีแบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี (TAM) โดยนำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษาร่วมกับปัจจัยภายนอก ได้แก่ คุณภาพบริการ คุณภาพข้อมูล คุณภาพระบบ ความเข้ากันได้ และประสบการณ์ มีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ กลุ่มผู้หญิงที่ทำงานในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำนวน 385 คน โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (1) มีอายุระหว่าง 26-32 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน และมีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001-30,000 บาท (2) ปัจจัยคุณภาพบริการ (β1 = 0.114) คุณภาพข้อมูล (β2 = 0.214) และคุณภาพระบบ (β3 = 0.541) มีอิทธิพลต่อการรับรู้ความไม่ซับซ้อน (3) ปัจจัยความเข้ากันได้ (β4 = 0.067) ประสบการณ์ (β5 = 0.142) และการรับรู้ ความไม่ซับซ้อน (β6 = 0.655) มีอิทธิพลต่อการรับรู้ประโยชน์ (4) ปัจจัยการรับรู้ความไม่ซับซ้อน (β7 = 0.214) และการรับรู้ประโยชน์ (β8 = 0.635) มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ต ดังนั้นผู้ประกอบการ และหน่วยงานภาครัฐ ควรสร้างความตระหนักให้ผู้บริโภครับรู้ ความไม่ซับซ้อน การใช้งานได้ง่าย รวมถึงการรับรู้ประโยชน์ที่เกิดจากการซื้อผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น การปรับปรุง เว็บไซด์หรือแอพพลิเคชั่นให้มีคุณภาพ การวางแผนเพื่อส่งเสริมการตลาด และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง เป็นต้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อสินค้าและบริการผ่านอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons