Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร คุณวิชิต-
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์ ถาวรานุรักษ์-
dc.date.accessioned2022-09-14T02:22:56Z-
dc.date.available2022-09-14T02:22:56Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17491-
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565en_US
dc.description.abstractThe purposes of this study were to (1) study the Elderly Welfare Service Provision in the Municipality of Na Thawi Nok Subdistrict, Na Thawi District, Songkhla Province, (2) study the needs of service recipients, (3) explore the problems or obstacles faced by officers who performed the welfare service provision to the elderly, and (4) suggest guidelines for developing social innovations to improve the provision of welfare allowance to the elderly in the future. The qualitative research methodology was used in this study. The 45 key informants of this studies include the group of administrators and members of the Na Thawi Nok Subdistrict Municipality Council, municipal employees who are responsible for the work related to the elderly pension, elderly group aged 60 years and over who live in Na Thawi Nok Sub-District Municipality and people who take care of these elderly people. Purposive sampling method was used to identify information-rich informants. The research instrument employed was a semi-structured interview form. Data were then analyzed using content analysis. The research results showed that: 1) The work of the officers in providing welfare for the elderly starts from coordinating with the district to request the registration of the names of the elderly in the area. Then, the officers issue a notice to the villages for the elderly to register for the elderly pension. The municipality is responsible for coordinating and maintaining the rights to receive the pension of the elderly in their area of responsibility. 2) The needs of most clients are the need for assistance for the elderly with bedridden conditions, various diseases, and orthopedic support. The need for the amount of subsistence allowance demands an increase in the budget. They also suggest for more support in terms of work and training. 3) Most of staff members responsible for providing welfare encountered problems regarding the move of some elders to the outside of the current areas without an official notification of moving out of the area. As a result, follow-up and inquiries are quite difficult. Based on these findings, recommendations and guidelines for better providing welfare for the elderly in Na Thawi Nok Subdistrict Municipality are provided.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectแนวทางการพัฒนานวัตกรรมen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนานวัตกรรมสังคมเพื่อปรับปรุงการจัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพสำหรับผู้สูงวัยในเขตเทศบาล ตำบลนาทวีนอก อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeSocial Innovation Development Guidelines for Elderly Welfare Service Provision in the Municipality of Na Thawi Nok Subdistrict, Na Thawi District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Public Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์-
dc.description.abstract-thการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของเทศบาลตำบลนาทวีนอก อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา โดยศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ ปัญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนานวัตกรรมสังคมในการจัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักรวม 45 คน ประกอบด้วย กลุ่มผู้บริหารและสมาชิกสภาเทศบาลตำบลนาทวีนอก กลุ่มพนักงานเทศบาลผู้ดูแลรับผิดชอบงานในหน้าที่เกี่ยวกับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ รวมทั้งกลุ่มผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปี ขึ้นไปและอาศัยอยู่จริงในเขตเทศบาลตำบลนาทวีนอกและกลุ่มประชาชนที่ดูแลผู้สูงอายุ ซึ่งสองกลุ่มหลังนี้ถือเป็นผู้รับบริการ คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักด้วยวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา การสรุปประเด็น และอภิปรายเชิงพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุเริ่มต้นจากการประสานงานขอความร่วมมือกับทางอำเภอเพื่อขอคัดทะเบียนรายชื่อของผู้สูงอายุในพื้นที่ จากนั้นออกหนังสือแจ้งไปตามหมู่บ้านเพื่อให้ผู้สูงอายุมาลงทะเบียนรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ โดยทางเทศบาลทำหน้าที่ประสานงานและคอยรักษาสิทธิ์ให้กับผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2) ความต้องการของผู้รับบริการ ส่วนใหญ่มีความต้องการในเรื่องของการให้ความช่วยเหลือสำหรับผู้สูงอายุที่มีอาการติดเตียงและเป็นโรคต่าง ๆ การสนับสนุนในเรื่องของกายอุปกรณ์ จำนวนเบี้ยยังชีพที่มีความต้องการให้เพิ่มงบประมาณ การส่งเสริมสนับสนุนในเรื่องของการทำงานและการอบรมให้ความรู้ 3) ปัญหาหรืออุปสรรคในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่พบปัญหาในเรื่องของการที่ผู้สูงอายุย้ายไปอยู่นอกพื้นที่โดยไม่มีการแจ้งย้ายออกจากพื้นที่อย่างเป็นทางการ ส่งผลให้การติดตามและการสอบถามในเรื่องต่าง ๆ เป็นไปได้ค่อนข้างยาก ผลการวิจัยดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดทำเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนานวัตกรรมเพื่อปรับปรุงการจัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพในเขตเทศบาลตำบลนาทวีนอกให้ดีขึ้นในอนาคตต่อไปen_US
Appears in Collections:465 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310521544.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.