Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17471
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลวดี ลิ่มอุสันโน-
dc.contributor.authorณัฐธยาน์ อ่อนแก้ว-
dc.date.accessioned2022-09-13T07:01:49Z-
dc.date.available2022-09-13T07:01:49Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17471-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ), 2565en_US
dc.description.abstractThe Study of Cost Reduction Management of Seabass in Cage Koh Yor Subdistrict, Muang District, Songkhla Province. The purpose of this research was to study the culture method, cost reduction and technology of raising seabass in cages of entrepreneurs in Koh Yor Subdistrict, Mueang District, Songkhla Province. This qualitative research was conducted by interviewing a group of 6 White Sea bass farmers of cage farming ,1 fishery scholar in Songkhla and 6 fish dealers the total number was 13 people. The results of cost and revenue analysis of the farmer, total cost and net return were approximately 180,690 and -68,189.83 Bath per cage. Most cash cost was the cost of feed which accounted for 43.40% of total cost. Moreover, most non-cash cost was the depreciation which accounted for 27.66% of total cost. The cost reduction management is recommended to control food but since the price is uncontrollable. so there should be Internet of Things (IoT) technology to reduce the risk of death and to help solve problems which ultimately resulting in an increased survival rate of fish. The results of the research revealed that raising sea bass to reach the desired and complete size required knowledge and experiences, and there were 3 aspects of the conditions, problems and obstacles of White Sea bass cage farming. First, the water quality in the area did not meet the cage farming. Secondly, there were pests (Asian date mussel) of White Sea bass. Thirdly, fish disease. These were the three solutions to the problems: 1) reducing the amount of organic matter accumulated under the cages by proper fish feeding management, 2) care and cleaning of cages, which would help reduce fish pests, and 3) training held to transfer fish farmers the technology of sea bass cage farming.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชังen_US
dc.subjectเทคโนโลยีen_US
dc.subjectศัตรูปลาen_US
dc.subjectปัญหาและการแก้ไขปัญหาen_US
dc.titleการศึกษาแนวทางการลดต้นทุนของการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Study of Cost Reduction Management of Seabass in Cage Koh Yor Subdistrict, Muang District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางการลดต้นทุนของการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบวิธีการเลี้ยง การลดต้นทุน และการนำเทคโนโลยีเข้าไปช่วยการเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชังของผู้ประกอบการ ในตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์กลุ่มผู้เลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง จำนวน 6 ราย นักวิชาการประมงจังหวัดสงขลา จำนวน 1 ราย และผู้ค้าปลากะพง จำนวน 6 ราย รวม 13 ราย ผลจากการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชังพบว่า ต้นทุนทั้งหมด เท่ากับ 180,690 บาทต่อกระชัง และมีกำไรสุทธิ เท่ากับ -68,189.83 บาทต่อกระชัง โดยสัดส่วนต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสดสูงสุด คือ ค่าอาหาร ร้อยละ 43.40 ของต้นทุนทั้งหมด ส่วนต้นทุนคงที่ไม่เป็นเงินสดมีสัดส่วนสูงสุด คือ ค่าเสื่อมราคาเครื่องมืออุปกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 27.66 ของต้นทุนทั้งหมด แนวทางการลดต้นทุนการเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง ต้องควบคุมเรื่องอาหาร ซึ่งเป็นปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมราคาได้ ดังนั้นควรเพิ่มให้มีอัตรารอดสูงขึ้น โดยการนำเทคโนโลยี IoT เข้าไปช่วยเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาและอุปสรรคของการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชัง โดยการเลี้ยงปลากะพงให้ได้ขนาดและมีความสมบูรณ์เป็นที่ต้องการนั้นต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ ซึ่งมีปัญหา 3 ข้อ คือ 1) คุณภาพน้ำบริเวณที่เลี้ยงไม่เหมาะสม 2) ศัตรูปลา 3) โรคปลา การแก้ปัญหา 3 ข้อ คือ 1) การลดปริมาณของสารอินทรีย์ที่สะสมอยู่ใต้กระชัง ด้วยการจัดการให้อาหารปลาที่เหมาะสม 2) การดูแลทำความสะอาดกระชังซึ่งจะช่วยลดศัตรูปลา 3) กรมประมงและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงปลากะพงขาวในกระชังให้กับเกษตรกรผู้เลี้ยงen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310521043.pdf6.16 MBAdobe PDFView/Open
NCAM.pdf113.95 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons