Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17470
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ธภกฤศ จันทสโร | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-13T06:58:46Z | - |
dc.date.available | 2022-09-13T06:58:46Z | - |
dc.date.issued | 2022 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17470 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), 2565 | en_US |
dc.description.abstract | This research aims to 1) study the factors level of teachers, students, lesson contents, and networking and information technology as well as the effectiveness of learning and teaching management in the COVID-19 epidemic situation, 2) compare the effectiveness of learning and teaching management of teachers based on individual factors, and 3) explore the factors affecting the effectiveness of learning and teaching management. An online questionnaire was used as an instrument for collecting data. The participants consisted of 304 teachers who work under the Office of Songkhla Primary Educational Service Area 2 in the academic year 2021. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results were as follows: 1) the factors level of teachers, lesson contents, and students from learning and teaching management in the COVID-19 epidemic situation were at a moderate level while the networking and information technology factors were at a low level. As for the effectiveness of teaching and learning management, it was at a low level that students had a low academic achievement and had moderately desirable characteristics, 2) teachers with different gender, age, education, teaching experience, and academic standing showed no significant differences in the effectiveness of teaching and learning management, and 3) the factors of lesson contents (ß = 0.54), networking and information technology (ß = 0.26), teachers (ß = 0.21), and students (ß = 0.15) significantly influence the effectiveness of teaching and learning management in order of importance from most to least. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนการสอน | en_US |
dc.subject | โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) | en_US |
dc.subject | เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของบุคลากรครูสังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 | en_US |
dc.title.alternative | Factors Affecting the Effectiveness of Learning and Teaching Management in the COVID-19 Epidemic Situation of Teachers under the Office of Songkhla Primary Educational Service Area 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของปัจจัยด้านผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหาบทเรียน และระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงประสิทธิผลของการจัดการเรียน การสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2) เปรียบเทียบความแตกต่างของประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอนของบุคลากร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอน โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 304 คน และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านผู้สอน เนื้อหาบทเรียน และผู้เรียน ของการจัด การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อยู่ในระดับปานกลาง ตามลำดับ ส่วนปัจจัยด้านระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศ อยู่ในระดับน้อย สำหรับประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับน้อย โดยนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนอยู่ในระดับน้อย และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อยู่ในระดับปานกลาง 2) ระดับประสิทธิผลการจัดการเรียนการสอนของบุคลากรครู จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการสอน และวิทยฐานะ ไม่มีความแตกต่างกัน และ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผล การจัดการเรียนการสอน มี 4 ปัจจัย เรียงตามลำดับปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด ดังนี้ เนื้อหาบทเรียน (ß = 0.54) ระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศ (ß = 0.26) ผู้สอน (ß = 0.21) และผู้เรียน (ß = 0.15) ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310521515.pdf | 1.72 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.