Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17407
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมใจ จันทร์อุดม | - |
dc.contributor.author | ประภาศ เมืองจันทร์บุรี | - |
dc.contributor.author | นริศรา มหาธนินวงศ์ | - |
dc.contributor.author | เธียรศักดิ์ ชูชีพ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-04T07:54:58Z | - |
dc.date.available | 2022-03-04T07:54:58Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17407 | - |
dc.description.abstract | This reseach was to investigated and developed microstructures and mechanical properties of high phosphorous cast iron brake shoes. The investigations.found that the state railway of Thailand had been used LV4 and DR2 brake shoes of 150,000 pieces/year (485 Bahts/piece). These brake shoes were produced by locally sources. However, the cast iron brake shoes have not been researched for a long time. The quality and performance of these brake shoes did not meet the need of current and future applications in which double-track railway will be develped. Therefore, this research investigated effects of the significant foctor of the chemical composition on the microstructures (types, shapes and amounts of structures), hardness and ear of brake shoes. The results found that the microstrucutres of high phosphorus cast iron obtained the Ferrite, pearlite, phosphorus eutectic (steadite), and graphite phases. High carbon and Phosphorus resulted in the formation of the steadite phase leading to obtaind the hardness wwlue of over 240 HB. Adding an inoculant element with a proper amount contributed to form graphite phases of about 10-15%, which the hardness of the cast irons then decreased to the ange of 200-240 HB. In addition, the wear resistance of the cast iron increased with incrasing adness. The amount of porosities increased with decrasing a wear resistance. Therefore, high phosphorus cast iron should contain the cabon element of 3% and add The phosphorus element of 2%. Inoculant element should be also added for forming the Sachite phase with a proper shape and amount. Finally, the hardness of brake shoes in the requirment range were obtained. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | รถไฟ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี | en_US |
dc.subject | เหล็กหล่อ | en_US |
dc.title | การพัฒนาโครงสร้างจุลภาคและสมบัติเชิงกลของเหล็กหล่อแท่งห้ามล้อรถไฟที่มีประสิทธิภาพ | en_US |
dc.title.alternative | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องการพัฒนาโครงสร้างจุลภาคและสมบัติเชิงกลของเหล็กหล่อแท่งห้ามล้อรถไฟที่มีประสิทธิภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Improvement of Microstructure and Mechanical Properties of Performance Cast iron Brake Shoes | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering Mining and Materials Engineering | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และโลหะวิทยา | - |
dc.contributor.department | Faculty of Science and Industrial Technology | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม | - |
dc.description.abstract-th | โครงการวิจัยนี้สนใจที่จะศึกษาและพัฒนาโครงสร้างจุลภาคและสมบัติเชิงกลของเหล็กหล่อฟอสฟอรัส สงเพื่อผลิตเป็นแท่งห้ามล้อรถไฟที่มีประสิทธิภาพ ข้อมูลจากการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พบว่ามีการใช้ แท่งห้ามล้อรถไฟชนิด LV4 และ DR2 ประมาณ 150,000 แท่ง/ปี (485 บาท/แท่ง) โดยในปัจจุบันสามารถ ผลิตแท่งห้ามล้อขึ้นได้เองภายในประเทศ แต่เนื่องจากแท่งห้ามล้อเหล็กหล่อไม่ได้มีการวิจัยและพัฒนามาเป็น เวลานาน ทําให้คุณภาพและประสิทธิภาพอาจไม่ตอบโจทย์การใช้งานในปัจจุบันและในอนาคตที่จะเกิดรถไฟ รางคู่ ดังนั้นงานวิจัยนี้จะศึกษาปัจจัยที่สําคัญ คือ ส่วนผสมทางเคมีที่มีผลต่อโครงสร้างจุลภาค ชนิดของ โครงสร้าง รูปร่างและปริมาณของโครงสร้าง ความแข็งและการต้านทานการสึกหรอของแท่งห้ามล้อ จากผลการทดลองพบว่า โครงสร้างเฟอร์ไรต์ เพิร์ลไลต์ สเตไดต์ และแกรไฟต์ เป็นโครงสร้างที่พบใน เหล็กหล่อฟอสฟอรัสสูง ปริมาณของธาตุคาร์บอนและธาตุฟอสฟอรัสที่สูงมีโอกาสเกิดโครงสร้างสเตไดต์ที่ เพิ่มขึ้น โครงสร้างสเตไดต์มีแนวโน้มที่จะทําให้เหล็กหล่อมีความแข็งเกิน 240 HB การเติมสารอินนอกคูแลนท์ ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อช่วยในการฟอร์มตัวของแกรไฟต์ จะทําให้เหล็กหล่อมีสัดส่วนของแกรไฟต์ประมาณ 10-15% ซึ่งช่วยให้เหล็กหล่อมีความแข็งลดลงอยู่ในช่วง 200-240 HB และจากผลการศึกษาสมบัติการสึกหรอ ของเหล็กหล่อ พบว่าการต้านทานการสึกหรอจะเพิ่มขึ้นเมื่อเหล็กหล่อมีความแข็งเพิ่มขึ้น ในขณะที่การมี ปริมาณรูพรุนที่เพิ่มขึ้นจะทําให้การต้านทานการสึกหรอลดลง ดังนั้นในการหล่อขึ้นรูปเหล็กหล่อฟอสฟอรัสสูงควรมีปริมาณธาตุคาร์บอนที่เหมาะสมประมาณ 396 ไม่ ควรเติมธาตุฟอสฟอรัสสูงเกิน 29% และควรเติมสารอินนอกคูแลนท์ช่วยในการฟอร์มตัวของแกรไฟต์ เพื่อผลิต แท่งห้ามล้อไม่ให้มีโครงสร้างที่แข็งจนเกินไป และมีรูปร่างและปริมาณของแกรไฟต์ที่เหมาะสมช่วยในการหล่อ ลื่นระหว่างการเบรก | en_US |
Appears in Collections: | 235 Research 932 Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
449591-abstract.pdf | 168.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.