Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17076
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีรศักดิ์ จินดาบถ | - |
dc.contributor.author | อับดุลฮันนาน หว่าหลำ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T07:19:20Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T07:19:20Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17076 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | รูปแบบการท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม | en_US |
dc.title | รูปแบบการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม ที่เดินทางมาท่องเที่ยว อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | Travel Pattern of Malaysian Muslim Tourists Who Travel to Hatyai, Songkhla | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิมที่เดินทางมาท่องเที่ยวอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาและเพื่อค้นหารูปแบบการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม ที่เดินทางมาท่องเที่ยวอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิมที่เดินทางมาท่องเที่ยวอำเภอหาดใหญ่จานวน 400 กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามและความชอบของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิมที่เดินทางมาท่องเที่ยว อำเภอหาดใหญ่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป สถิติที่ใช้คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เชิงปัจจัย (Factor Analysis) เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยใช้สถิติ KMO (Kaiser-Meyer-Olkin) และการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าที (t-Test) และทดสอบค่าเอฟ(F-Test) ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (One-Way ANOVA) โดยกาหนดค่า p-value ที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20 – 30 ปี สถานภาพสมรส /อยู่ด้วยกัน โดยมีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือน 20,001– -30,000 และส่วนใหญ่มีอาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ซึ่งรูปแบบการท่องเที่ยวโดยภาพรวม เป็นตัวประกอบและมีน้าหนักตัวประกอบ ดังนี้ รูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ (0.775) รูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรม (0.801)รูปแบบการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ(0.785) และมีค่าความแปรปรวนของข้อมูล คือ 68.97% โดยนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม มีระดับความคิดเห็นของความชอบแหล่งท่องเที่ยวในอาเภอหาดใหญ่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม มีระดับความคิดเห็นของความชอบแหล่งท่องเที่ยวในอำเภอหาดใหญ่ อยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ได้แก่ ด้านรูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งวัฒนธรรมและอยู่ในระดับมาก 2 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านรูปแบบการท่องเที่ยวในแหล่งธรรมชาติ 2. ด้านรูปแบบการท่องเที่ยวในความสนใจพิเศษ นอกจากนี้ยังพบว่า นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิมที่มีอายุ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือนอาชีพ ต่างกัน มีระดับความคิดเห็นของความชอบแหล่งท่องเที่ยวในอาเภอหาดใหญ่ โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
89.รูปแบบการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม-บทความ.pdf | 353.59 kB | Adobe PDF | View/Open | |
89.รูปแบบการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียมุสลิม.pdf | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License