Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17063
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปิยะนุช ปรีชานนท์ | - |
dc.contributor.author | กรองกาญจน์ กปิลกาญจน์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-18T06:18:30Z | - |
dc.date.available | 2021-05-18T06:18:30Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17063 | - |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | สลัดสำเร็จรูป | en_US |
dc.subject | เฟซบุ๊กแฟนเพจ | en_US |
dc.subject | ความตั้งใจซื้อ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของการยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสำเร็จรูปที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อสลัดสำเร็จรูปออนไลน์ของผู้บริโภค | en_US |
dc.title.alternative | The Impact of the Adoption of Ready to Eat Salads on Facebook Fanpageon the Consumer's Intention to Buy Ready to Eat SaladsOnline | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Business Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ | - |
dc.description.abstract-th | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสาเร็จรูปที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อสลัดสาเร็จรูปออนไลน์ของผู้บริโภคในอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยศึกษาจากลักษณะประชากรศาสตร์ การยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสาเร็จรูป ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ ประโยชน์การใช้งานความง่ายในการใช้งานอิทธิพลทางสังคมความสะดวกในการใช้งานเอกลักษณ์ของเฟซบุ๊กแฟนเพจและความตั้งใจซื้อสลัดสาเร็จรูปออนไลน์ของผู้บริโภค กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริโภคในพื้นที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จานวน 385 ตัวอย่าง ใช้แบบสอบถามออนไลน์ในการเก็บข้อมูล ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis)กาหนดนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 56.36 มีอายุระหว่าง21-30 ปี ร้อยละ 54.29สถานภาพโสด ร้อยละ 69.61วุฒิการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 70.13อาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน ร้อยละ 27.02 มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 20,000-30,000 บาท ร้อยละ 27.01 ซึ่งผู้บริโภคให้การยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสาเร็จรูปโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีการยอมรับในด้านความง่ายในการใช้งานมากที่สุด ผลการศึกษาความตั้งใจซื้อสลัดสาเร็จรูปออนไลน์ พบว่า โดยภาพรวมผู้บริโภคมีความตั้งใจซื้อมาก ทั้งนี้จากผลการวิจัยการยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสาเร็จรูปส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสลัดสาเร็จรูปออนไลน์อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 | en_US |
Appears in Collections: | 460 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
46.ผลกระทบของการยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสำเร็จรูป.pdf | 972.87 kB | Adobe PDF | View/Open | |
46.ผลกระทบของการยอมรับเฟซบุ๊กแฟนเพจสลัดสำเร็จรูป-บทความ.pdf | 409.6 kB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License