Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภาพร, องสารา-
dc.contributor.authorสุกัญญา, บุญรักษ์-
dc.contributor.authorอับดุลรอซะ, บูงอตันหยง-
dc.contributor.authorเชาวดี, ช่อมณี-
dc.date.accessioned2015-09-21T08:58:53Z-
dc.date.accessioned2021-05-17T11:51:30Z-
dc.date.available2015-09-21T08:58:53Z-
dc.date.available2021-05-17T11:51:30Z-
dc.date.issued2551-12-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15899-
dc.description.abstractศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่ Parapocryptes serperaster (Richardson, 1846) ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2548 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2550 รวมเป็นระยะเวลา 16 เดือน รวบรวมตัวอย่างจากเกาะยอ เดือนละครั้ง โดยเครื่องมือข่ายปลาท่องเที่ยวและข่ายกุ้ง ซึ่งมีแหล่งทำการประมงบริเวณทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะยอ บันทึกข้อมูลความยาวลำตัวปลา น้ำหนักตัวปลา และน้ำหนักเซลล์สืบพันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า ปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่มีขนาดความยาวตัวระหว่าง 14.0-27.0 เซนติเมตร สมการความสัมพันธ์ระหว่างความยาวเหยียดกับน้ำหนัก รวมทั้งสองเพศเท่ากับ W = 0.0984 L2.041 เพศผู้เท่ากับ W = 0.0368 L2.331 และเพศเมียเท่ากับ W = 0.0610 L2.225 อัตราส่วนระหว่างเพศผู้ต่อเพศเมียของปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่ ในรอบปีเท่ากับ 1 : 0.7 ขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ของปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่เพศเมียเท่ากับ 19.8 เซนติเมตร ปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่มีการพัฒนาของเซลล์สืบพันธุ์ และมีค่าดัชนีความสมบูรณ์เพศสูง 2 ช่วง คือตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม และตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน โดยช่วงการสืบพันธุ์วางไข่ของปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่มีค่าสูงในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมth_TH
dc.language.isoth_THth_TH
dc.subjectการลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพth_TH
dc.titleชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่ Parapocryptes serperaster ในทะเลสาบสงขลาตอนล่างth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.