Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสำราญ, สะรุโณ-
dc.contributor.authorไพโรจน์, สุวรรณจินดา-
dc.contributor.authorนลินี, จาริกภากร-
dc.contributor.authorปัทมา, พรหมสังคหะ-
dc.contributor.authorสาริณีย์, จันทรัศมี-
dc.contributor.authorไพเราะ, เทพทอง-
dc.contributor.authorมานิตย์, แสงทอง-
dc.contributor.authorชอ้อน, พรหมสังคหะ-
dc.contributor.authorบุญรัตน์, เหมือนยอด-
dc.contributor.authorอาอีฉ๊ะ, ใบละจิ-
dc.contributor.authorเสาวภาค, รัตนสุภา-
dc.contributor.authorอุไรวรรณ, สุกด้วง-
dc.contributor.authorสมใจ, จีนชาวนา-
dc.contributor.authorและเกียรติศักดิ์, ขุนไกร-
dc.date.accessioned2015-10-10T06:31:57Z-
dc.date.accessioned2021-05-17T11:36:15Z-
dc.date.available2015-10-10T06:31:57Z-
dc.date.available2021-05-17T11:36:15Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15638-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการจัดระบบการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ การจัดทำแปลงผลิตพืช การเคลื่อนไหวทางสังคม และการพัฒนาทุนทางสังคม ดำเนินการวิจัยในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ระหว่างปี2551-2553 ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือการจัดกระบวนการผลิตพืชตามแนวทาง “4 เสาหลักสู่ความพอเพียง” ประกอบด้วย “หัวใจพอเพียง” สามารถสร้างความตั้งใจที่ใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาความเป็นเกษตรกรต้นแบบ “ภูมิปัญญาภิวัตน์พอเพียง” สามารถทดลองหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นหลายภูมิปัญญา เช่น การป้องกันกำจัดแมลงด้วยกับดักกาวเหนียว การใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกข้าว พืชไร่ ยางพารา และการปลูกพืชต่างระดับ 4 ชั้น “9 พืชผสมผสานพอเพียง” มีการปลูกพืช 9 กลุ่มพืช ได้แก่กลุ่มพืชรายได้พืชอาหาร พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ พืชสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช พืชอาหารสัตว์ ไม้ใช้สอย พืชอนุรักษ์ดินและน้ำพืชอนุรักษ์พันธุ์กรรมและพืชพลังงาน เพิ่มขึ้น 36.3 ชนิด และ“การดำรงชีพพอเพียง” ทำให้มีคะแนนความพอเพียงเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมาก ผลการพัฒนาทำให้เกษตรกรมีความพอเพียงสูงกว่าเพื่อนบ้านเกือบทุกรายการ และแนวทางดังกล่าวนี้ยังนำมาใช้ในการพัฒนาความคิดให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไปth_TH
dc.language.isoth_THth_TH
dc.publisherรายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 8-10 สิงกาคม 2554 ณ โรงแรมตักสิลา มหาสารคามth_TH
dc.subjectความไม่มั่นคงทางอาหารth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อยth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
Appears in Collections:993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.