Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15202
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สมควร, วรรณรัตน์ | - |
dc.contributor.author | อรทัย, เพ็งประไพ | - |
dc.date.accessioned | 2015-10-09T02:44:45Z | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-17T11:21:58Z | - |
dc.date.available | 2015-10-09T02:44:45Z | - |
dc.date.available | 2021-05-17T11:21:58Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15202 | - |
dc.description.abstract | ปัจจุบันการพัฒนาประเทศโดยการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness) ภาคเกษตรมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศทั้งในมิติของการผลิตที่สามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหารและเป็นแหล่งสร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนภาคเกษตรการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองได้นั้น เกษตรกรต้องเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายในองค์กรและชุมชนการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งในระดับของการพึ่งพาตนเองและในระดับของการแข่งขัน กลไกหนึ่งที่สนับสนุนให้เกษตรกรและชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มความสามารถไปสู่เป้าหมายดังกล่าวนั้นคือ การนำเอากระบวนเรียนรู้ในการจัดตั้งกลุ่มองค์กรเกษตรกร การบริหารจัดการกลุ่ม จากขั้นพื้นฐานไปสู่การเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและการตลาด การมีส่วนร่วม การเสริมสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกรเพื่อให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การจัดการกับทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างชาญฉลาด การนำองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น นวัตกรรมในการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารต้องมีความปลอดภัยและได้มาตรฐานด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบนฐานความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มาใช้ในการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหาร โดยการพัฒนาดังกล่าว สามารถพัฒนาองค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ แหล่งเรียนรู้องค์กรเกษตรกรด้านเคหกิจเกษตรเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรพร้อมทั้งเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะรวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอบรมความรู้สู่เกษตรกรและเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อให้เกิดวิทยากรเกษตรกรทางด้านการเกษตรและเคหกิจเกษตร รวมถึงการพัฒนาการเป็นผู้นำองค์กรเกษตรกรที่มีความสามารถทั้งในกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กลุ่มยุวเกษตรกรสู่การเป็นวิทยากรเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้และการเรียนรู้ผ่านสื่อทางไกลในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ และนำความรู้ความสามารถมาถ่ายทอดความรู้ แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไปพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรในแหล่งเรียนรู้ด้านเคหกิจเกษตรให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาอาชีพการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงด้านรายได้และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนครอบครัวเกษตรกรมีความมั่นคงทางด้านอาหาร นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมุ่งหวังให้แหล่งเรียนรู้ด้านเคหกิจเกษตรได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ต้นแบบและพัฒนาสู่การเป็น Smart Farmer ในรูปแบบกลุ่มต่อไป | th_TH |
dc.language.iso | th_TH | th_TH |
dc.publisher | สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร | th_TH |
dc.subject | ความไม่มั่นคงทางอาหาร | th_TH |
dc.title | โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในแหล่งเรียนรู้ด้านเคหกิจเกษตร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 | th_TH |
dc.type | Other | th_TH |
Appears in Collections: | 993 ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในแหล่งเรียนรู้ด้านเคหกิจเกษตร.doc | 71 kB | Microsoft Word | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.