Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดาวเรือง, ศุกรวัติ-
dc.contributor.authorทัศนีย์, เนตรทัศน์-
dc.contributor.authorสัญญา, สิริวิทยาปกรณ์-
dc.date.accessioned2015-10-06T09:23:38Z-
dc.date.accessioned2021-05-17T11:05:58Z-
dc.date.available2015-10-06T09:23:38Z-
dc.date.available2021-05-17T11:05:58Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14917-
dc.description.abstractแอ่งน้ำบาดาลหาดใหญ่ตั้งอยู่บนที่ราบชายฝั่งทะเลภาคใต้ด้านตะวันออก ของประเทศไทย มีการพัฒนาน้ำบาดาลในชั้นตะกอนกรวด ทราย จากชั้น น้ำบาดาลหาดใหญ่ คูเต่าและคอหงส์ ซึ่งมีความลึกอยู่ในช่วง 20-50, 60- 100 และมากกว่า 100 เมตร (ม.) ตามลำดับ นับจากปี พ.ศ. 2538 ถึง ปี พ.ศ. 2554 ความลึกในการพัฒนาน้ำบาดาลได้เพิ่มขึ้นถึง 340 ม. โดยมี ปริมาณการใช้น้ำบาดาลเพิ่มขึ้นถึง 14 เท่า ส่งผลให้ระดับน้ำบาดาลลด ต่ำลง มีการรุกล้ำของน้ำเค็มเข้าสู่ชั้นน้ำบาดาลจืดในหลายพื้นที่ที่ติดกับ ทะเลสาบสงขลา จากการศึกษาพบว่าน้ำบาดาลจะไหลจากพื้นที่เพิ่มเติมน้ำ ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออก ตะวันตก และใต้ ลงสู่กลางแอ่งน้ำบาดาลและไหล ออกทะเลสาบสงขลา ผลการติดตามระดับน้ำบาดาลและคุณภาพน้ำบาดาล จากบ่อสังเกตการณ์จำนวน 37 บ่อ จากชั้นน้ำหาดใหญ่และคูเต่า พบว่า บางพื้นที่มีระดับน้ำบาดาลลดลงจากเดิม 2-4 ม. อยู่ที่ 8-15 ม. จากระดับ ผิวดิน และมีแนวโน้มพื้นที่ขยายกว้างขึ้น ผลวิเคราะห์ค่าคลอไรด์ในชั้นน้ำ ดังกล่าว โดยเฉลี่ยมีค่ามากกว่า 600 มก./ล. ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานน้ำ บาดาลที่ใช้บริโภค ในบริเวณ ต. แม่ทอม ต. บางกล่ำ อ. บางกล่ำ และ ต. คูเต่า อ. หาดใหญ่ จ.สงขลา และพบว่าพื้นที่มีค่าคลอไรด์สูงมีการขยายตัว เพิ่มขึ้น กล่าวคือในปี พ.ศ. 2543 มีพื้นที่ประมาณ 25 ตร.กม. และในปี พ.ศ. 2557 มีพื้นที่เพิ่มขึ้นเป็น 200 ตร.กม. ซึ่งคาดว่าเกิดจากการรุกล้ำของ น้ำเค็มเข้าสู่ชั้นน้ำบาดาลจืด ในการศึกษาต่อไปจะใช้แบบจำลองทาง คณิตศาสตร์ในการทำนายการรุกล้ำของน้ำเค็มภายใต้สภาวะการสูบใช้น้ำ บาดาลต่างๆ รวมถึงสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศth_TH
dc.language.isoth_THth_TH
dc.publisherการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20th_TH
dc.subjectคุณภาพสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleการรุกล้ำของน้ำเค็มเข้าสู่ชั้นน้ำบาดาลแอ่งน้ำบาดาลหาดใหญ่ (กรณีศึกษา อำเภอควนเนียง อำเภอบางกล่ำ และอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา )th_TH
dc.title.alternativeSaltwater Intrusion into Aquifers in Hat yai Groundwater Basin ( Case Study: Khuan Niang, Bangklam and Hat yai District, Songkhla Province )th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
Appears in Collections:994 งานวิจัยเชิงชีวภาพ-กายภาพ



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.