Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14092
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorกองพล ฤทธิโชติ-
dc.contributor.advisorปิยะนุช ปรีชานนท์-
dc.date.accessioned2021-05-17T08:52:25Z-
dc.date.available2021-05-17T08:52:25Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14092-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectความใส่ใจสุขภาพen_US
dc.subjectการนวดแผนไทยen_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของความใส่ใจสุขภาพกับทัศนคติของนักท่องเที่ยวมาเลเซียที่มีต่อบริการนวดแผนไทยในอำเภอเมือง จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Relationship between Health Consciousness and Attitudes of Malaysian Tourists towards Thai Traditional Massage Services in Muang, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของนักท่องเที่ยวมาเลเซียที่มี ต่อบริการนวดแผนไทย ความใส่ใจสุขภาพของนักท่องเที่ยวมาเลเซีย รวมถึงความสัมพันธ์ของ ความใส่ใจสุขภาพกับทัศนคติของนักท่องเที่ยวมาเลเซียที่มีต่อบริการนวดแผนไทย โดยกาหนดกลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวมาเลเซียที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในอาเภอเมือง จังหวัดสงขลาระหว่างเดือนธันวาคม 2558 ถึงเดือนมีนาคม 2559 จานวน 500 ตัวอย่าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ T – Test และ F – Test (One Way Anova) และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยการใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 53.8 อายุระหว่าง 40 – 49 ปี คิดเป็นร้อยละ 33.2 สถานภาพสมรสหรืออยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ 71 การศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 76 ประกอบอาชีพพนักงานเอกชนหรือห้างร้าน คิดเป็นร้อยละ 41.8 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 5,000 ริงกิต คิดเป็น 25.4 เลือกใส่ใจสุขภาพ ของตนเองด้วยการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ คิดเป็นร้อยละ 31.6 ตัดสินใจใช้บริการนวด แผนไทยจากปัจจัยทางด้านผู้นวด เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการรับบริการ ตัวแปรด้านความ ใส่ใจสุขภาพอยู่ในระดับใส่ใจสุขภาพมากที่สุด และตัวแปรด้านทัศนคติที่มีต่อบริการนวดแผนไทย อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า ความใส่ใจสุขภาพมีความสัมพันธ์กับทัศนคติโดยภาพรวมในทิศทางเดียวกันระดับสูงและมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กล่าวคือ เมื่อนักท่องเที่ยวมาเลเซียมีความใส่ใจสุขภาพของตนเองมากขึ้น จะทาให้นักท่องเที่ยวมาเลเซีย มีทัศนคติต่อบริการนวดแผนไทยในเชิงบวกมากยิ่งขึ้นและจะส่งผลต่อพฤติกรรมในลาดับถัดไป ดังนั้น หากผู้ประกอบการต้องการประสบความสาเร็จในธุรกิจนวดแผนไทย จึงต้องให้ความสาคัญกับพนักงานนวด เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ให้มากขึ้น และควรเปิดช่องทางการประชาสัมพันธ์ให้มีความหลากหลาย เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มนักท่องเที่ยวมาเลเซียได้ทุกระดับen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.