Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปาริชาติ มณีมัย-
dc.contributor.authorวสันต์ สุวรรณกาญจน์-
dc.date.accessioned2020-10-20T03:37:36Z-
dc.date.available2020-10-20T03:37:36Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13182-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี􀃊มีวัตถุประสงค์ เพ􀃉ือศึกษาและวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตด้วยระบบต้นทุน กิจกรรม (Activity-Based Costing : ABC) ของโครงการเหมืองหินแกรนิตเพื􀃉ออุตสาหกรรม ก่อสร้าง กรณีศึกษา บริษัทเหมืองแร่ลิวง จำกัด จังหวัดสงขลา โดยทำการรวบรวมข้อมูลจาก เอกสารรายงานของบริษัทฯ การสังเกตและการสัมภาษณ์ผู้บริหารและหัวหน้างานในช่วงเดือน กันยายน 2558 ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการผลิตของบริษัท เหมืองแร่ลิวง จำกัด มีศูนย์ กิจกรรมท􀃉ีก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์จำนวน 3 ศูนย์กิจกรรม ได้แก่ ศูนย์กิจกรรมการผลิตหน้าเหมือง ศูนย์ กิจกรรมการผลิตโรงงาน Part1และศูนย์กิจกรรมการผลิตโรงงาน Part2 ซึ􀃉งในแต่ละศูนย์กิจกรรม ประกอบด้วยกิจกรรมย่อยเพ􀃉ือก่อให้เกิดการดำเนินงานของกระบวนผลิต คือ ศูนย์กิจกรรมท􀃉ี1 การ ผลิตหน้าเหมือง มีกิจกรรมย่อย 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการตักหิน กิจกรรมการขนส่งหิน กิจกรรมการเชื􀃉อม/กลึง กิจกรรมงานเครื􀃉องยนต์ กิจกรรมงานสิ􀃉งแวดล้อมและกิจกรรมการบริหาร จัดการ ซึ􀃉งกิจกรรมดังกล่าวทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ 1 ชนิด คือ ผลิตภัณฑ์หินหน้าเหมือง ศูนย์กิจกรรมท􀃉ี 2 การผลิตโรงงาน Part1 มีกิจกรรมย่อย 9 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมการป้อนหิน กิจกรรมการเตรียม ปากใหญ่ กิจกรรมการคัดขนาด กิจกรรมการลำเลียงหิน กิจกรรมการตักหิน กิจกรรมการเช􀃉ือม/กลึง กิจกรรมงานเคร􀃉ืองยนต์ กิจกรรมงานสิ􀃉งแวดล้อมและกิจกรรมการบริหารจัดการ ซึ􀃉งในกระบวนการ ผลิตทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ หินคลุกและหินอุโมงค์ ศูนย์กิจกรรมท􀃉ี3 การผลิตโรงงาน Part2 มีกิจกรรมย่อย 10 กิจกรรม คือ กิจกรรมการป้อนหิน กิจกรรมการเตรียมโคนหยาบ กิจกรรมการ เตรียมโคนละเอียด กิจกรรมการคัดขนาด กิจกรรมการลำเลียง กิจกรรมการตักหิน กิจกรรมการ เชื􀃉อม/กลึง กิจกรรมงานเครื􀃉องยนต์ กิจกรรมงานสิ􀃉งแวดล้อมและกิจกรรมการบริหารจัดการ จาก กิจกรรมในกระบวนการผลิตโรงงาน Part2 ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ 3 ชนิด คือ หิน3/4” หิน3/8” และหิน ฝุ่นผลการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตด้วยระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรม ทำให้ทราบต้นทุน ต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด คือ หินหน้าเหมืองเท่ากับ 48.76 บาท/ตัน หินคลุกเท่ากับ 52.10 บาท/ตัน หินอุโมงค์เท่ากับ 61.59 บาท/ตัน หิน3/4”เท่ากับ 102.08 บาท/ตัน หิน3/8”เท่ากับ 63.22 บาท/ตันและหินฝุ่นเท่ากับ 66.09 บาท/ตัน ซึ􀃉งผลการศึกษาพบว่า ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยจากการ วิเคราะห์ต้นทุนโดยใช้ระบบบัญชีต้นทุนกิจกรรมทำให้ได้ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยแตกต่างจาก การวิเคราะห์ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยโดยใช้ระบบบัญชีแบบเดิม คือ ผลิตภัณฑ์เกือบทุกชนิดมี ต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วยลดลง ยกเว้นผลิตภัณฑ์หินหน้าเหมืองมีต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วย เพิ่มขึ้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการบัญชีต้นทุนen_US
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผลen_US
dc.titleการวิเคราะห์ต้นทุนกิจกรรมของโครงการเหมืองหินแกรนิตเพื่ออุตสาหกรรมก่อสร้าง : กรณีศึกษา บริษัทเหมืองแร่ลิวง จำกัด จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeActivity-Based Costing Analysis of Granite Mining Project for Construction Industry : Case Study of Livong Mining Co.,LTD, Songkhla Province.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
Appears in Collections:460 Minor Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5710522038.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open
5710522038-manuscript.pdf209.92 kBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons