Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12345
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์ | - |
dc.contributor.author | ทิพวรรณ จันทมาส | - |
dc.date.accessioned | 2019-10-31T04:50:34Z | - |
dc.date.available | 2019-10-31T04:50:34Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12345 | - |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ,2562 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ที่มีต่อระบบการประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ความยุติธรรม ความยากง่ายในการใช้งาน ความ ชัดเจนของระบบการประเมิน และการนำผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ประโยชน์ 2) เพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ที่มีต่อระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ใน ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ความยุติธรรม ความยากง่ายในการใช้งาน ความชัดเจนของระบบ การประเมิน และการนำผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ประโยชน์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรม ความยากง่ายในการใช้งาน ความชัดเจนของระบบการประเมิน และการนำผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ประโยชน์ กับความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และความพึงพอใจโดยรวมต่อระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ บุคลากรสายวิชาการและบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 375 คน รวบรวมข้อมูลโดยการใช้ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า 1) บุคลากรมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการรับรู้ความ ยุติธรรม ความยากง่ายในการใช้งาน ความชัดเจนของระบบการประเมิน และการนำผลการ ประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับปานกลาง 2) บุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุนวิชาการ มีความคิดเห็นต่อระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ประเด็นการรับรู้ความ ยุติธรรม ความยากง่ายในการใช้งาน และการนำผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ประโยชน์ไม่ แตกต่างกัน แต่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความชัดเจนของระบบการประเมินแตกต่างกัน อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) การรับรู้ความยุติธรรม ความชัดเจนของระบบการประเมิน การนำผลการประเมินการปฏิบัติงานไปใช้ประโยชน์ และความยากง่ายในการใช้งาน มี (3) ความสัมพันธ์กับความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และความพึงพอใจ โดยรวมต่อระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | การทำงาน การประเมิน | en_US |
dc.subject | การจัดการทรัพยากรมนุษย์ | en_US |
dc.title | อิทธิพลของระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความรู้สึกของพนักงาน : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ | en_US |
dc.title.alternative | The Influence of Performance Appraisal Systems on Employees’ Feelings: A Case Study of Prince of Songkla University, Hat Yai Campus | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Management Sciences (Public Administration) | - |
dc.contributor.department | คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ | - |
Appears in Collections: | 465 Minor Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ทิพวรรณ จันทมาส.pdf | 943.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.