Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11835
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประทีปเกาะ, ฐปนรรฆ์ | - |
dc.contributor.author | อาแว, ฟัตฮียะห์ | - |
dc.date.accessioned | 2018-05-16T02:19:13Z | - |
dc.date.available | 2018-05-16T02:19:13Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11835 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลไม้แก่น จังหวัดปัตตานี เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลไม้แก่น จำนวน 188 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอนุมานโดยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบถอยหลัง ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลไม้แก่น จังหวัดปัตตานี ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในระดับปานกลาง ร้อยละ 66.20 และ พบว่า การศึกษา (ß = -0.441, p < 0.001) รองลงมา ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้น (ß = -0.252, p = 0.024) และเพศ (-0.251, p = 0.029) ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลไม้แก่น จังหวัดปัตตานี เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นแก่ชุมชนให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่มีการศึกษา และเป็นเพศชาย พร้อมให้คำแนะนำในการใช้ที่เหมาะสม ที่ส่วนใหญ่มาจากคำบอกเล่าของชาวบ้าน จึงไม่ค่อยนำมาใช้ทั้งที่มีอยู่ในท้องถิ่น การใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นเป็นอีกทางเลือกหนึ่งแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลไม้แก่น จังหวัดปัตตานี เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลไม้แก่น จำนวน 188 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติอนุมานโดยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบถอยหลัง ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลไม้แก่น จังหวัดปัตตานี ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในระดับปานกลาง ร้อยละ 66.20 และ พบว่า การศึกษา (ß = -0.441, p < 0.001) รองลงมา ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้น (ß = -0.252, p = 0.024) และเพศ (-0.251, p = 0.029) ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวานในคลีนิกโรคเรื้อรังโรงพยาบาลไม้แก่น จังหวัดปัตตานี เจ้าหน้าที่สาธารณสุขควรให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นแก่ชุมชนให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่มีการศึกษา และเป็นเพศชาย พร้อมให้คำแนะนำในการใช้ที่เหมาะสม ที่ส่วนใหญ่มาจากคำบอกเล่าของชาวบ้าน จึงไม่ค่อยนำมาใช้ทั้งที่มีอยู่ในท้องถิ่น การใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นเป็นอีกทางเลือกหนึ่งแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | th_TH |
dc.subject | สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้น | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยเบาหวาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้สมุนไพรกำแพงเจ็ดชั้นของผู้ป่วยเบาหวาน | th_TH |
dc.title.alternative | Factors Affecting Behaviors of Diabetes Mellitus Patients on Using | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Education) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา | - |
Appears in Collections: | 270 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TC1428.pdf | 4.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.