Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPhattrawan, Tongkumchum-
dc.contributor.authorBenchamas, Chunpradab-
dc.date.accessioned2017-10-19T03:06:04Z-
dc.date.available2017-10-19T03:06:04Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11091-
dc.descriptionThesis (M.Sc.(Research Methodology))--Prince of Songkla University, 2015th_TH
dc.description.abstractHypertension is increasing public health concerns because of its high frequency and concomitant risks of cardiovascular and kidney diseases. This study aims to determine the prevalence of hypertension and some risk factors among 1,795 adults aged 35 years and older in Trang province of southern Thailand. This study used secondary data from a cross-sectional study conducted by health professionals between December 2009 and March 2010. The data collection was carried out using structured questionnaire. Statistics used were percentage, chi-squared test, odds ratios (OR), 95% confidence intervals of OR, and logistic regression. The model with treatment contrasts provided adjusted odds ratios and their confidence intervals. The model with sum contrasts provided adjusted percent and their confidence intervals. After adjusting for the effect of other factors, significant factors affecting hypertension were being male, age greater than 55 years old, body mass index greater than 25 kg/m2, using some kind of medicine, exercise at least 3 days a week, and not eating sweet taste. These findings are useful for health education and health promotion program development in order to prevent hypertension among Thai people. แก้ไข ลบ element แทรก element DescriptionAbstract โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจ และโรคไต การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 1,795 คน ในจังหวัดตรัง ข้อมูลได้มาจากการศึกษาของสำนักงานควบคุมและป้องกันโรคที่ 12 ที่เก็บข้อมูลระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2552 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 ด้วยการสัมภาษณ์และใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วยตัวแปร ด้านประชากรและลักษณะทางสังคม ปัจจัยด้านสุขภาพ พฤติกรรมส่วนบุคคล และพฤติกรรมการบริโภค วัดความดันโลหิต น้ำหนัก และส่วนสูง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ การทดสอบไคสแควร์ อัตราส่วน odds และการถดถอยแบบลอจิสติกอย่างง่ายเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดความดันโลหิตสูงกับตัวแปรอิสระทีละตัว และสร้างโมเดลการถดถอยแบบลอจิสติกเพื่อหาปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคความดันโลหิตสูง สร้างโมเดลโดยใช้ทรีตเมต์คอนทราสต์เพื่อหา adjusted odds ratios และสร้างโมเดลโดยใช้ weighted sum contrasts เพื่อหา adjusted percentages ของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ผลการศึกษาพบว่าเพศชายมีความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง นอกจากนี้อายุที่เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะประชากรที่มีอายุ 55 ปีขึ้นไป มีความเสี่ยงมากกว่าประชากรที่มีอายุต่ำกว่า ดัชนีมวลกายที่มากกว่า 25 kg/m2 การใช้ยาประจำตัว การออกกำลังกายอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ และการไม่บริโภคของหวานผลการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ทราบถึงสาเหตุของโรคความดันสูงซึ่งภัยเงียบของคนส่วนใหญ่ อันจะมีประโยชน์ต่อการเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้อย่างเหมาะสมth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherPrince of Songkla University, Pattani Campusth_TH
dc.subjectโรคความดันโลหิตสูงth_TH
dc.titleFactors Affecting Hypertension in Trang Province of Southern Thailand.th_TH
dc.title.alternativeปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชากรในจังหวัดตรังth_TH
dc.typeThesisth_TH
Appears in Collections:722 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TC1357.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.