Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19325
Title: สตรีมุสลิม: ชีวิต และบทบาทการเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
Other Titles: Muslim Women: Life and Role as Social Activists in the Southern Borden Provinces
Authors: วันพิชิต ศรีสุข
นูรุลฮุดา อับรู
Faculty of Humanities and Social Sciences (Social Sciences)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์
Keywords: สตรีมุสลิม;สตรีมุสลิมที่เป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคม;บทบาทของสตรีมุสลิม;พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Issue Date: 2023
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Abstract: Southern Border Provinces, besides the ongoing issue of the unstable situation that has caused damage to the lives and properties of people in the area, there are many other important issues, such as the issue of gender inequality between men and women. The purpose of this research is to study 1) the lifestyle and social status of Muslim women who are social activists in the three southern border provinces, 2) the role of Muslim women in social activism, and 3) propose ways to develop Muslim women's role in social activism. Data was collected from key informants in the three southern border provinces of Pattani, Yala, and Narathiwat, with a total of 15 people interviewed using in-depth interviews and group discussions. The results of the study showed that 1)The study of the lifestyle patterns and social status of Muslim women who are activists in the three southern border provinces shows that Muslim women in these provinces have a simple way of life based on the principles of Islam. If a woman's main family responsibility is taking care of the family, she does not go out to work. However, due to the ongoing unrest in the area, the lives of this group of women have changed. They lose family members and children due to the violence or even face divorce, causing them to change their way of life to survive and become social activists to help other affected women. This has led to a change in the way of life of Muslim women in the area, but at the same time, these women still adhere to the practices of being good wives and mothers as prescribed by religion. In terms of social status, some Muslim women are still not widely accepted by society, especially among the older generation who have a strong belief and still adhere to the strict practices of Islam, viewing what this group of women is doing as wrong. This has resulted in some groups in society having a negative view of Muslim women activists. 2) The role of Muslim women as activists is mainly to help heal women affected by local violence, whether it is situational violence or even domestic violence. The job involves providing advice and consultation, and the role and process begin with receiving complaints. One-on-one consultations and assistance by coordinating with relevant local authorities and another important role is the call for gender equality. In the operation, there are often problems and obstacles, such as the imbalance of time allocation of time to work with family care and not being accepted by certain groups of people in society. This makes it difficult to reach Muslim women in the community. 3) Guidelines for developing Muslim women's role as social activists in the three southern border provinces. The key is knowledge, which needs to be supported by private organizations, the government, or other relevant agencies involved in providing knowledge and understanding of social work to Muslim women who are social activists in the area. Promoting the development of Muslim women as a voice for themselves to demand their rights, which arise from not being treated fairly in society, and motivating Muslim women to see their own worth. A good network process must be established to avoid problems with the future lifestyle of Muslim women.
Abstract(Thai): จังหวัดชายแดนภาคใต้ นอกจากปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบที่สร้างความเสียหาย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของคนในพื้นที่แล้ว ยังมีอีกหลายประเด็นที่มีความส าคัญ เช่น ประเด็นสิทธิสตรี ความไม่เท่าเทียมระหว่างเพศชายและเพศหญิง การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษารูปแบบ การด าเนินชีวิต และสถานภาพทางสังคมของสตรีมุสลิมที่เป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้2) ศึกษาบทบาทของสตรีมุสลิมในการเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคม และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาสตรีมุสลิมให้มีบทบาทในการเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคม เก็บข้อมูลจากผู้ให้ ข้อมูลหลักในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัด นราธิวาส จังหวัดละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 15 คน โดยใช้เครื่องมือการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนา กลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า 1) การศึกษารูปแบบการด าเนินชีวิต และสถานภาพทางสังคมของสตรีมุสลิมที่เป็น นักเคลื่อนไหวในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เห็นว่าสตรีมุสลิมในพื้นที่สามจังหวัดมีรูปแบบการด าเนิน ชีวิตที่เรียบง่ายตามครรลองของศาสนาอิสลาม หากสตรีใดที่มีครอบครัวหน้าที่หลักคือการดูแล ครอบครัว ไม่ออกไปท างานนอกบ้าน แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ที่เกิดขึ้น ท าให้การ ด าเนินชีวิตของสตรีกลุ่มนี้เปลี่ยนไป เขาสูญเสียผู้น าครอบครัว สูญเสียลูก จากเหตุการณ์ความไม่สงบ หรือแม้แต่ปัญหาการหย่าร้างที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ส่งผลให้สตรีกลุ่มนี้ต้องเปลี่ยนแปลงการด าเนินชีวิตของ ตนเองเพื่อความอยู่รอด และผันตัวมาเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อช่วยเหลือเยียวยาสตรีที่ได้รับ ผลกระทบคนอื่น ๆ จึงท าให้รูปแบบการด าเนินชีวิตของสตรีมุสลิมในพื้นที่เปลี่ยนไปจากอดีต แต่ใน ขณะเดียวกันสตรีเหล่านี้ยังคงยึดถือข้อปฏิบัติตนในฐานะภรรยาที่ดีและเป็นแม่ที่ดีตามที่ศาสนาได้ บัญญัติไว้ ในด้านของการได้รับการยอมรับสถานภาพทางสังคม สตรีมุสลิมบางส่วนยังไม่ได้รับการ ยอมรับจากสังคมอย่างแพร่หลายมากนัก โดยเฉพาะกับคนรุ่นเก่าที่เป็นผู้สูงอายุ ที่มักจะมีความเชื่อ และยังคงยึดถือแนวทางปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด และมองว่าสิ่งที่สตรีกลุ่มนี้ก าลัง ปฏิบัติคือสิ่งที่ผิด ท าให้กลุ่มคนบางกลุ่มในสังคมมีมุมมองที่ไม่ดีนักต่อสตรีมุสลิมที่เป็นนักเคลื่อนไหว 2) บทบาทของสตรีมุสลิมในการเป็นนักเคลื่อนไหว ส่วนใหญ่จะมีบทบาทในการ ช่วยเหลือเยียวยาสตรีที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นความรุนแรงจาก สถานการณ์หรือแม้กระทั่งความรุนแรงในครอบครัว ลักษณะการท างานคือการเข้าไปให้ค าแนะน า ให้ ค าปรึกษา โดยบทบาทและกระบวนการท างานจะเริ่มตั้งแต่การรับข้อร้องเรียน การลงพื้นที่เข้าไปให้ค าปรึกษาแบบตัวต่อตัว และการช่วยเหลือโดยการประสานงานไปยังหน่วยงานรับผิดชอบต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องในพื้นที่ และอีกหนึ่งบทบาทที่ส าคัญ คือ การเรียกร้องถึงความเท่าเทียมทางเพศ ส่วนในการ ด าเนินงานมักพบปัญหา และอุปสรรค คือ การจัดสรรเวลาในการท างานกับเวลาในการดูแลครอบครัว ไม่สมดุล และการไม่ถูกยอมรับจากกลุ่มคนบางกลุ่มในสังคม ท าให้การเข้าถึงสตรีมุสลิมที่อยู่ในชุมชน เกิดความยากล าบาก 3) แนวทางการพัฒนาสตรีมุสลิมให้มีบทบาทในการเป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้สิ่งส าคัญคือการองค์ความรู้ที่จะต้องได้รับการสนับสนุนจากองค์กร เอกชน ภาครัฐ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการให้ความรู้ ความเข้าใจในด้าน งานขับเคลื่อนสังคมให้แก่สตรีมุสลิมที่เป็นนักเคลื่อนไหวในพื้นที่ การส่งเสริมการพัฒนาสตรีมุสลิมให้ สามารถเป็นกระบอกเสียงแก่ตนเองต่อการเรียกร้องสิทธิที่เกิดจากการไม่ได้รับความยุติธรรมในสังคม อย่างเข้มแข็ง และสร้างพลังใจให้สตรีมุสลิมได้เล็งเห็นถึงคุณค่าในตัวเอง มีการจัดสรรกระบวนการ ท างานของเครือข่ายที่ดีเพื่อไม่ให้เกิดปัญหากับรูปแบบการด าเนินชีวิตของสตรีมุสลิมในอนาคต
Description: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพัฒนาสังคม), 2566
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19325
Appears in Collections:427 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6120220633.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons