กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19116
ชื่อเรื่อง: ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับใช้งานคิวอาร์เพย์เมนต์ของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Factors Affecting Acceptance to use QR Payment of Small Business Entrepreneur in Songkhla Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ปาริชาติ เบ็ญฤทธิ์
พิมพ์รภัส ธนาภรนนทศิริ
Faculty of Management Sciences (Business Administration)
คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ
คำสำคัญ: ธุรกิจขนาดย่อม สงขลา;การเงิน;ผู้ประกอบการ
วันที่เผยแพร่: 2018
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: The objective of this research was to study the QR payment acceptance small business entrepreneur in Songkhla Province. This study is a quantitative research that was conducted by using survey research methods. The questionnaires were used as a tool to collect data from a total of 130 small business owners that accepted QR payment for goods and services in their businesses. The data obtained were analyzed with mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. The research results indicated that majority of the sample were females at ages between 30-35 years, graduated with a bachelor’s degree or equivalent, gained 1-5 years of experience in business operations and hired 1-5 store employees. The types of business were service businesses with an average monthly sales volume of 100,000 -300,000 baht. The business hours were all-day opening times. The study results of the factors that influenced the QR payment acceptance of small business entrepreneur in Songkhla Province the most were facilitating conditions, effort expectancy, social Influence and trust. The intention to use the QR payment had a direct influence on the acceptance of using the payment system for goods and services through the QR payment system of small business entrepreneur in Songkhla Province with a statistical significance level of 0.1.
Abstract(Thai): งานวิจัยนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับใช้งานระบบรับชาระเงินคิวอาร์เพย์เมนต์ของ ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ในรูปแบบของการศึกษาเชิงสารวจ ( Survey Research) โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมที่รับชาระค่า สินค้าและบริการผ่านคิวอาร์เพย์เมนต์ในกิจการ จานวน 130 ตัวอย่างและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขัน้ ตอน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30-35 ปี ระดับการศกึ ษา อยู่ในระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีประสบการณ์ในการประกอบธุรกิจ 1-5 ปี จานวนพนักงานใน ร้าน 1-5 คน ประเภทของธุรกิจ คือ ธุรกิจบริการ ยอดขายเฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 1-300,000 บาท ช่วงเวลา ในการทาการของกิจการ คือ เปิดให้บริการตลอดทัง้ วัน และผลจากการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความตัง้ ใจที่จะใช้งานงานคิวอาร์เพย์เมนต์ของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมในจังหวัดสงขลา มาก ที่สุด คือ สภาพสิ่งอานวยความสะดวกในการใช้งาน ความคาดหวงั ในความพยายาม ความไว้วางใจ และอิทธิพลสังคมตามลาดับ ซงึ่ ความตัง้ใจที่จะใช้งานคิวอาร์เพย์เมนต์มีอิทธิพลโดยตรงต่อการยอมรับ ใช้งานงานระบบชาระค้าสินค้าและบริการผ่านระบบคิวอาร์เพย์เมนต์ของผู้ประกอบการธุรกิจขนาด ย่อมในจังหวัดสงขลาอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับสถิติ 0.1
รายละเอียด: บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(การตลาด), 2561
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19116
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:460 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
437821.pdf1.58 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons