กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18037
ชื่อเรื่อง: อิทธิพลของแนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานของพนักงานในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทย
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The Influence of Human Resource Management Practices on Innovative Work Behavior of Employees in Telecommunication Industry of Thailand
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์
ผกาวรรณ ไพรัตน์
Faculty of Management Sciences (Business Administration)
คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ
คำสำคัญ: พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงาน;อุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคม การบริหารงานบุคคล
วันที่เผยแพร่: 2022
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ: Innovation is a key factor driving the performance of modern organizations. The objectives of this research were 1) to analyze the influence of human resource management practices on innovative work behaviors of employees in the telecommunication industry of Thailand 2) to analyze the influence of human resource management practices on innovative work behaviors of employees in the telecommunication industry of Thailand Influence of climate variables for innovation organizations and 3) to compare levels of human resource management practices and innovative work behaviors. Organizational climate for innovation and psychological empowerment among employees of public and private organizations. This research study is a mixed research study. Embedded research types between quantitative and qualitative research. For the quantitative research of this study, questionnaires were used as a data collection tool. The sample group used in this research was 709 employees from 6 telecommunication organizations in Thailand's telecommunication industry. Data were analyzed using descriptive statistics and structural equation modeling with Mplus program. Data were analyzed by using independent t-test samples technique to find differences between public and private organization of employees. The analysis of the structural equation model revealed that human resource management practices directly influenced innovative work behaviors.Human resource management practices have a positive indirect influence on innovative work behavior through organizational climate for innovation. Human resource management practices have a positive indirect influence on innovative work behaviors through psychological empowerment. Finally, human resource management practices have a positive indirect influence on sequentail mediator behavior through organizational climate for innovation and psychological empowerment. As for the results of the t-test found that the human resource management practice variables in terms of job autonomy of private organizations employees were higher than the average of public organizations employees at a statistically significant level of 0.05.The psychological empowerment of job meaning and job impact of private organization employees was statistically higher than the average of 0.05 level of public organization employees. It appeared that private sector employees were independent, job meaning and job impact higher impact on the organization than the employees of public organizations. For qualitative research, the results showed that human resource management practices, organizational climate for innovation, psychological empowerment, all affect employee innovative work behavior. It was also found that human resource management practices, organizational climate for innovation, psychological empowerment are still a difference between public and private organization. In addition, the findings are consistent with the quantitative research which found that the levels of human resource management practices, organizational climate for Innovation, psychological empowerment and innovation work behavior of private organization are higher than private organizations. Overall, it can be concluded that the public telecommunications organization in Thailand must recognize and emphasize importance of modifying the processes of human resource management, which can lead to positive attitudes and motivation in the promotion of innovative behaviors in order to the same level as in the private sector.
Abstract(Thai): นวัตกรรมถือเป็นปัจจัยส าคัญที่ขับเคลื่อนผลการปฏิบัติงานขององค์การสมัยใหม่ การวิจัย ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของแนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต่อ พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างานของพนักงานอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทย 2) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลของแนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมใน การท างานของพนักงานอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทย อิทธิพลของตัวแปรบรรยากาศ องค์การส่งเสริมนวัตกรรม และการเสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยาในฐานะตัวแปรคั่นกลางและ 3) เพื่อเปรียบเทียบระดับของแนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์และพฤติกรรมสร้างนวัตกรรม ในการท างาน บรรยากาศองค์การส่งเสริมนวัตกรรม และการเสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยา ระหว่างพนักงานองค์การภาครัฐและภาคเอกชน การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี แบบรองรับภายใน ส าหรับการวิจัยเชิงปริมาณของการศึกษานี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานจ านวน 709 คนจากองค์การ โทรคมนาคม 6 แห่งในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมของประเทศไทย ท าการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิง พรรณนาและโมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรมส าเร็จรูป Mplus และท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้เทคนิคการทดสอบ ที (t – test) แบบ indendent samples เพื่อหาความแตกต่างระหว่าง พนักงานองค์การภาครัฐและภาคเอกชน ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพบว่าแนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์มี อิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างาน แนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากร มนุษย์มีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างานโดยส่งผ่านบรรยากาศ องค์การส่งเสริมนวัตกรรม แนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อ พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างานโดยส่งผ่านการเสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยา และสุดท้าย แนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมใน การท างานอย่างต่อเนื่อง (Sequentail Mediator) โดยส่งผ่านบรรยากาศองค์การส่งเสริมนวัตกรรม และการเสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยา ส่วนผลการทดสอบ ที (t-test) พบว่า ตัวแปรแนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในด้านการมีอิสระในการท างานของพนักงานองค์การภาคเอกชนมี ค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพนักงานภาครัฐอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติระดับ 0.05 ตัวแปรการ เสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยานด้านความหมายของงานและด้านผลกระทบในงานของพนักงาน องค์การภาคเอกชนมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพนักงานภาครัฐอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติระดับ 0.05 หมายความได้ว่าพนักงานองค์การภาคเอกชนมีอิสระในการท างาน การเห็นความหมายของงาน และ การมองว่างานมีผลกระทบต่อหน่วยงานสูงกว่าพนักงานองค์การภาครัฐ ส าหรับการวิจัยเชิงคุณภาพผลการศึกษาพบว่า การออกแบบแนวปฏิบัติด้านการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ บรรยากาศองค์การส่งเสริมนวัตกรรม การเสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยา ล้วนมี ความส าคัญและส่งผลต่อพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างานของพนักงาน นอกจากนั้นยังพบว่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ บรรยากาศองค์การส่งเสริมนวัตกรรม การเสริมสร้างพลัง อ านาจเชิงจิตวิทยาระหว่างพนักงานองค์การภาครัฐและภาคเอกชนนั้นยังคงมีความแตกต่างกันโดย ผลการวิจัยมีความสอดคล้องกับงานวิจัยเชิงปริมาณที่พบว่าค่าเฉลี่ยของเแนวปฏิบัติด้านการจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ บรรยากาศองค์การส่งเสริมนวัตกรรม การเสริมสร้างพลังอ านาจเชิงจิตวิทยา และ พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างานพบว่าพนักงานองค์การภาคเอกชนมีค่าเฉลี่ยในทุกๆ ด้านสูง กว่าองค์การภาครัฐ จากผลการศึกษาโดยรวมสรุปได้ว่า องค์การโทรคมนาคมของประเทศไทยต้องตระหนักและ ให้ความส าคัญในการปรับเปลี่ยนกระบวนการต่างๆ ในการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อตอบสนองต่อ พฤติกรรมของพนักงานซึ่งจะสามารถน าไปสู่การสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างแรงจูงใจภายในการ ส่งเสริมพฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการท างานของพนักงานให้เท่าเทียมองค์การภาคเอกชนและเพื่อ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์การต่อไป
รายละเอียด: ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การจัดการ), 2565
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/18037
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:460 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
454279.pdf4.8 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons