กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17925
ชื่อเรื่อง: | สภาพ ปัญหา ความคาดหวังและแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะสังกัด สำนักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสตูล |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Problems, Expectations, and Guidelines for Educational Management Development of Pondok Institutes under the Office of the Private Education Commission, Satun Province |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | นิเลาะ แวอุเซ็ง สุริยา หะยีเหย็บ Faculty of Islamic Sciences คณะวิทยาการอิสลาม |
คำสำคัญ: | แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษา;สถาบันศึกษาปอเนาะ |
วันที่เผยแพร่: | 2021 |
สำนักพิมพ์: | Prince of Songkla University |
บทคัดย่อ: | This research has the following objectives: 1) to study problems of education management at Pondok Institute Under the Office of the Private Education Promotion Commission, Satun Province 2) To study the expectations of education management at Pondok Institutes. Under the Office of the Private Education Promotion Commission, Satun Province. and 3) to study the guidelines for the development of education management at Pondok Institutes. Under the Office of the Private Education Promotion Commission, Satun Province. The researcher determined the sample groups and target groups in this research, consisting of 2 groups: 1) The survey samples were 18 teacher desk assistants, 45 Pondok teachers and 75 Pondok academies 75 representatives of parents, total 213 people, and 2) The target groups interviewed were Pondok academy administrators. Using a specific method of selecting 9 people the research instruments were questionnaires, valuation scales, and questionnaires. And the interview from using open-ended questions. Analysis of data on problem conditions and expectations from questionnaires by searching for percentage, mean, and standard deviation. And data analysis on educational development guidelines at Pondok Institutes. Using content analysis methods. The research results were found that 1) Problems of the Pondok Institute under the Office of the Private Education Commission, Satun Province, there are 4 aspects as follows: environment Inputs In education management process and productivity Found that the problem of the Pondok institute Under the Office of the Private Education Promotion (10) Commission, Satun Province. In general, the problem condition is at a high level. When considering each aspect, it was found that Most of them had the problem at a high level. Sorting the problem level from descending order as follows: The educational management process was at a high level. Followed by the input factor was at a high level. And productivity was at a high level, respectively the environment. The problem is at a moderate level. 2) Expectations of the Pondok Institute Under the Office of the Private Education Promotion Commission, Satun, there are 4 aspects as follows: environment Inputs In education management process and productivity Found that the expectations of the Pondok Institute Under the Office of the Private Education Promotion Commission, Satun Province. Overall, expectations were at a high level. When considering each aspect, it was found that Most of them had expectations at a high level the order of expectation in descending order is as follows: Inputs are highest. Followed by productivity environment and the educational management process was at a high level, respectively 3) Guidelines for the development of education management at Pondok Institute under the Office of the Private Education Promotion Commission, Satun, it was found that there were guidelines for the development of education management at Pondok Institutes as follows: Environment provide accommodation suitable for living and adequate to meet the needs of the learners. Provide school buildings that are sufficient for students Build quality utilities, provide adequate bathrooms and toilets. It is imperative that the public sector takes equal care with private, religious and government schools in all aspects of administration. Pondok institutions should plan the establishment of buildings and locations of various service points. Such as walls, boundaries, classrooms, bathrooms, cafeterias, offices and laboratories, etc. And providing opportunities for government agencies to manage and teach by facilitating with staff by setting up a working room or work locations for each organization and strongly agreed with the teachers' table in cooperation with the State Department By providing convenience In conducting each project, coordinating and preparing for the preparation according to the project. (11) Inputs Teachers and directors' desks should set a clear direction for development and comply with government policy. Government or related agencies should support the budget the government should arrange for talented teacher personnel to join with the Pondok teachers' personnel to be sufficient for the learners. Pondok Institute of Education provides curriculum in accordance with the core curriculum and brings learning management materials to keep up with the current world situation and create a network with the government sector with even more private agencies to build relationships and upgrade the administration of Pondok educational institutes. Educational management process Encourage the teacher desk and an assistant teacher at the bachelor's degree level Encourage teacher personnel to participate in academic training and teaching skills. The administration of Pondok institutions should be assessed as well as religious private schools. Develop an information system to be up to date. Create curriculum and learning standards for religious subjects along with professional Promote and support the use of technology in teaching and learning for students in Pondok educational institutes. Productivity Compare the transfer of general knowledge to learners who have completed religious courses from the Pondok Institute of Education to study in the general line at the higher level and organizing a project to enhance vocational skills for learners to be able to pursue a career in the future |
Abstract(Thai): | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการจัดการศึกษาสถาบัน ศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล 2) เพื่อศึกษาความคาดหวังการจัด การศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล และ 3) เพื่อศึกษาแนว ทางการพัฒนาการจัดการศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ จ านวน 600 คน ซึ่งผู้วิจัยได้ก าหนดกลุ่มตัวอย่างและกลุ่มเป้าหมายในการ วิจัยโดยเทียบจากตารางของ (เครจซี่และมอร์แกน) ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มตัวอย่างที่ตอบ แบบสอบถาม ได้แก่ ผู้ช่วยโต๊ะครู จ านวน 18 คน ครูผู้สอนในสถาบันศึกษาปอเนาะ จ านวน 45 คน คณะกรรมการสถาบันศึกษาปอเนาะ จ านวน 75 คน ตัวแทนผู้ปกครอง จ านวน 75 คน รวมจ านวน ทั้งหมด 213 คน และ 2) กลุ่มเป้าหมายที่ให้สัมภาษณ์เป็นผู้บริหารสถาบันศึกษาปอเนาะ ใช้วิธีเลือก แบบเจาะจง จ านวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า และ แบบสัมภาษณ์โดยใช้แนวค าถามที่มีลักษณะเป็นค าถามปลายเปิด การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพ ปัญหาและความคาดหวังจากแบบสอบถามโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ใช้วิธีการวิเคราะห์ เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัญหาของสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด สตูลมี 4 ด้าน ดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจัยน าเข้า ด้านกระบวนการจัดการศึกษาและด้าน ผลผลิต พบว่า สภาพปัญหาของสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล โดยภาพรวมมีสภาพปัญหาอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ส่วนมากมีสภาพปัญหาอยู่ใน ระดับมากไล่เลี่ยกัน เรียงตามล าดับสภาพปัญหาจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกระบวนการจัด การศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุดอยู่ในล าดับที่ 4 รองลงมาด้านปัจจัยน าเข้าอยู่ในล าดับที่ 3 ด้านผลผลิต อยู่ในล าดับที่ 2 และด้านสภาพแวดล้อม มีสภาพปัญหาอยู่ในล าดับที่1 ถือว่าอยู่ในระดับน้อยที่สุด 2) ความคาดหวังของสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชน จังหวัดสตูลมี 4 ด้าน ดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อม ด้านปัจจัยน าเข้า ด้านกระบวนการจัดการศึกษาและ ด้านผลผลิต พบว่า ความคาดหวังของสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด สตูล โดยรวมมีความคาดหวังอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ส่วนมากมีความคาดหวังอยู่ ในระดับมาก เรียงตามล าดับสภาพปัญหาจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านปัจจัยน าเข้าอยู่ในระดับมาก ที่สุด รองลงมาด้านผลผลิต ด้านสภาพแวดล้อม และปัญหาด้านกระบวนการจัดการศึกษาอยู่ในระดับ น้อยที่สุดตามล าดับจากมากไปหาน้อย 3) แนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ สังกัดส านักงาน การศึกษาเอกชนจังหวัดสตูล พบว่า มีแนวทางการพัฒนาการจัดการศึกษาสถาบันศึกษาปอเนาะ ดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อม จัดที่พักเหมาะแก่การอยู่อาศัยและให้เพียงพอต่อความต้องการ ของผู้เรียน จัดอาคารเรียนที่เพียงพอต่อผู้เรียน สร้างระบบสาธารณูปโภคให้มีคุณภาพ จัดห้องน้ า ห้อง สุขา ให้มีความเพียงพอ จำเป็นที่ภาครัฐจะต้องเอาใจใส่ให้เท่าเทียบเสมอภาคกับโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาและโรงเรียนรัฐบาลในการจัดการบริหารทุกด้าน สถาบันศึกษาปอเนาะควรวางแผนการจัดตั้ง อาคาร สถานที่ และต าแหน่งจุดบริการต่างๆ เช่น ก าแพงขอบเขตเนื้อที่ ห้องเรียน ห้องน้ำ โรงอาหาร สำนักงาน และห้องปฏิบัติงาน เป็นต้น และการเปิดโอกาสให้หน่วยงานภาครัฐเข้าไปจัดการเรียนการ สอน โดยอ านวยความสะดวก กับเจ้าหน้าที่ด้วยการจัดห้องท างาน หรือสถานที่ปฏิบัติงานแต่ละ องค์กร และเห็นควรเป็นอย่างยิ่งกับโต๊ะครูในการให้ความร่วมมือกับจ าหน้าที่รัฐ ด้วยการให้ความ สะดวก ในการทำโครงการแต่ละโครงการ ประสานงาน จัดเตรียมความพร้อมตามโครงการ ด้านปัจจัยน าเข้า โต๊ะครู และกรรมการควรก าหนดทิศทางการพัฒนาให้ชัดเจนและ สอดคล้องตามนโยบายรัฐบาล ภาครัฐหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรสนับสนุนงบประมาณ รัฐบาลควร จัดบุคลากรครูที่มีความสามารถมาสมทบกับบุคลากรครูของสถาบันศึกษาปอเนาะให้เพียงพอกับ ผู้เรียน สถาบันศึกษาปอเนาะจัดท าหลักสูตรให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางแล้วน าสื่อการจัดการ เรียนรู้ให้ทันกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน และสร้างเครือข่ายกับภาครัฐ กับหน่วยงานเอกชนให้มาก ยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความสัมพันธ์และยกระดับการบริหารสถาบันศึกษาปอเนาะ ด้านกระบวนการจัดการศึกษา ส่งเสริมให้โต๊ะครู และผู้ช่วยโต๊ะครูศึกษาต่อในระดับ ปริญญาตรี สนับสนุนให้บุคลากรครูผู้สอนเข้าร่วมการอบรมเชิงวิชาการและทักษะการสอน ควรมีการ ประเมินการบริหารสถาบันศึกษา ปอเนาะเช่นเดียวกับประเมินโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา พัฒนา ระบบสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน จัดท าหลักสูตรและมาตรฐานการเรียนรู้วิชาศาสนาควบคู่กับวิชาชีพ ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนส าหรับนักเรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะ ด้านผลผลิต เทียบโอนความรู้สายสามัญให้กับผู้เรียนที่ส าเร็จวิชาศาสนาจากสถาบัน ศึกษาปอเนาะ เพื่อการศึกษาต่อสายสามัญในระดับที่สูงขึ้น และจัดกิจกรรมโครงการเสริมสร้างทักษะ อาชีพให้กับผู้เรียนเพื่อให้สามารถไปประกอบอาชีพในอนาคตได |
รายละเอียด: | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2564 |
URI: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17925 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | 761 Thesis |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
6220420111.pdf | Problems, Expectations, and Guidelines for Educational Management Development of Pondok Institutes under the Office of the Private Education Commission, Satun Province | 3.55 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License