Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14091
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยะนุช ปรีชานนท์-
dc.contributor.authorปัทมา สันเส็น-
dc.date.accessioned2021-05-17T08:47:55Z-
dc.date.available2021-05-17T08:47:55Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14091-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectธนาคารออมสินen_US
dc.subjectบริการลูกค้าen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติกับการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ของลูกค้าธนาคารออมสินในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาen_US
dc.title.alternativeThe Relationship between Customers’ Attitudes and Adoption toward Online Banking of Government Saving Bank in Hatyai District, Songkhla Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Management Sciences (Business Administration)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของลูกค้าที่มีต่อระบบธนาคาร ออนไลน์ และการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ของธนาคารออมสิน ศึกษาลักษณะทาง ประชากรศาสตร์ที่มีต่อการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ รวมไปถึงศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างทัศนคติกับการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ของลูกค้าธนาคารออมสิน กลุ่มตัวอย่าง คือ ลูกค้าธนาคารออมสินในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำนวน 332 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้สถิติทดสอบ t- test , F – test ( One Way ANOVA ) และสถิติสหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มลูกค้าธนาคารออมสินมีทัศนคติต่อระบบธนาคารออนไลน์ ในภาพรวมที่ระดับ เห็นด้วยมาก โดยในด้านประโยชน์หลัก และความง่ายในการเข้าถึงธนาคาร ออนไลน์มีระดับการเห็นด้วยมากที่สุด ส่วนทัศนคติด้านความน่าเชื่อถือของธนาคารออนไลน์และ การใช้เทคโนโลยีของลูกค้าอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ในด้านการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ ของลูกค้าธนาคารออมสินโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งในด้านความสนใจในการใช้ ธนาคารออนไลน์ ด้านการมีความสะดวกสบายในการทำธุรกรรม ด้านการแนะนำให้บุคคลอื่นหัน มาใช้ธนาคารออนไลน์ และด้านไม่ลังเลใจในการใช้บริการธนาคารออนไลน์ มีระดับการยอมรับ มากที่สุด ส่วนด้านการทดแทนการใช้บริการหน้าเคาน์เตอร์มีการยอมรับในระดับมาก ส่วน ประชากรศาสตร์ ด้านสถานภาพไม่มีความแตกต่างกัน แต่ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ รายได้ กับการยอมรับระบบธนาคารออนไลน์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และด้านความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติกับการยอมรับในระบบธนาคารออนไลน์ อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีทิศทางเดียวกันในระดับสูง ซึ่งงานวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้ธนาคารมีการ ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ลูกค้าธนาคารมีการใช้งานธนาคารออนไลน์มากกยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการลด ต้นทุนธนาคารอีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์อีกด้วยen_US
Appears in Collections:460 Minor Thesis



Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.