Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/4714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศักดา ภัทรภิญโญกุลen_US
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยาen_US
dc.contributor.authorจินตนา ภัทรภิญโญกุลen_US
dc.contributor.authorสาธิมน ทิพยวงศ์en_US
dc.date2543?]en_US
dc.date.accessioned2010-06-02T07:08:14Z-
dc.date.available2010-06-02T07:08:14Z-
dc.date.issued2543?]en_US
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/4714-
dc.description.abstractThe purposes for the study are (1) to comply and analyse the data of the patients at Songklanagarind hospital, (2) to design the database of congenital anomalies of the G.I-tract and abdomen, (3) to implement the database of the congenital anomalies for the treatment and teaching by studying quantitatively and qualitatively. Comply the primary data and secondary data by using software Foxpro version 2.6 for managing the database. The outcome of this study can be analysed and designed as followed ; (I) data for the group of diseases, (2) data for organ systems, (3) data for individual organ, (4) the disease data which can be designed for the database fles which are patient details, vital statisties, symptoms and signs physical examinations and laboratory investigations, specifc investigations, final diagnosis and records of treatments, the record of complications followed treatments and the records of follow up. There are four levels of implementation, (1) to implement for patient statistic, (2) to implement for primary working system, (3) to implement for patient care, (4) to implement for the education. In conclusion, this systematically complying database is benefcial for pediatric surgeons as a guide for medical planning and effective treatment of pediatric G.I malformation in the future.-
dc.format78, [22] แผ่น : ภาพประกอบen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectความพิการแต่กำเนิดทางเดินอาหารและช่องท้อง ฐานข้อมูลen_US
dc.subjectกุมารศัลยศาสตร์ ฐานข้อมูลen_US
dc.subjectศัลยกรรมเด็ก ฐานข้อมูลen_US
dc.titleการจัดทำฐานข้อมูลทางกุมารศัลยศาสตร์ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ : ศึกษาเฉพาะความพิการแต่กำเนิดของทางเดินอาหารและช่องท้องen_US
dc.typeงานวิจัยen_US
dc.contributor.departmentคณะทันตแพทยศาสตร์ ภาควิชาศัลยศาสตร์en_US
dc.contributor.departmentสำนักวิจัยและพัฒนาen_US
dc.description.abstract-thวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เพื่อต้องการ (1) รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ (2) ออกแบบฐานช้อมูลทางความพิการแต่ กำเนิดของทางเดินอาหารและช่องท้อง (3) แนวทางการพัฒนาการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลความพิการแต่กำเนิดของทางเดินอาหารและช่องท้องไปใช้ประโยชน์ในการรักษาและการ เรียนการสอน โดยวิธีการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ โดยใช้ Software Foxpro Vesion 2.6 ในการจัดการฐานข้อมูล ผล การศึกษาสามารถวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูลเบื้องต้นเป็น (1) ข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มโรค (2) ข้อมูลเกี่ยวกับอวัยวะ (3) ข้อมูลเกี่ยวกับอวัยวะย่อย (4) ข้อมูลโรค ซึ่งสามารถออก แบบฐานข้อมูลในการจัดเก็บซ้อมูลและพัฒนาระบบฐานจัดเก็บข้อมูล ได้แก่ การบันทึกข้อมูลประวัติผู้ป่วย, บันทึกข้อมูลชีพ, บันทึกช้อมูลประวัติการเจ็บป่วย, บันทึกข้อมูลการตรวจ ร่างกาย, บันทึกข้อมูลการตรวจทางห้องทดลอง, บันทึกข้อมูลการตรวจพิเศษ, บันทึกข้อมูล การวินิงฉัยขั้นสุดท้าย, บันทึกข้อมูลการรักษา, บันทึกข้อมูลผลแทรกซ้อนในการรักษา และ บันทึกข้อมูลการติดตามผลการรักษา สำหรับขั้นตอนการใช้งานแบ่งเป็น 4 ขั้นตอน (1) ขั้นตอนการใช้ระบบงานเพื่อหาสถิติของผู้ป่วย (2) ขั้นตอนการใช้ระบบงานเบื้องต้น (3) ขั้นตอนการใช้ระบบงาน เมื่อมีผู้ป่วย (1) ขั้นตอนการใช้ระบบงานเพื่อการศึกษา ดังนั้นจึง สรุปได้ว่าเป็นการจัดเก็บฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบระเบียบที่เพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางกุมารศัลยศาสตร์ สามารถนำไป ใช้ประกอบการตัดสินใจในการคิดวางแผน และวางนโยบายการรักษาในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ-
Appears in Collections:680 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
license.html118 BHTMLView/Open
201801.pdf21.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.