Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/3911
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนันทา เชิงเชาว์en_US
dc.date2543en_US
dc.date.accessioned2010-06-02T06:41:38Z-
dc.date.available2010-06-02T06:41:38Z-
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/3911-
dc.description.abstractHevea brasiliensis leaves inoculated with 1x10' spores/ml of Phytophthora palmivora induced expressions of antifungal genes (beta-1,3- glucanase and chitinase). Seventy-two hour after inoculation, activities of these enzymes were about 2-3 folds higher than those determined in the control leaves. A resistant clone (BPM-24) produced the two enzymes more rapidly and lasted longer than a susceptible clone (RRIM600). In addition, both Hevea clones released total proteins (other proteins including beta-1,3- glucanase and chitinase) at the level and rate similar to the two enzymes. One isozyme (a) and 3 isozymes (a, b, c) of beta-1,3-glucanase were detected in the control leaves of RRIM600 and BPM-24 clones, respectively. While the levels of isozymes a, b, c did not respond to fungal infection, an extra isozyme (d) with the same size in both clones was induced after inoculation. Two isozymes (x, y) and three isozymes (x, y, z) of chitinase were observed in the control leaves of RRIM600 and BPM-24 clones, respectively. The isozymes y and z were increased by fungal infection whereas the isozyme x was decreased after 72 h. of inoculation. The isozyme z which appeared only in the BPM-24 and in the other Hevea resistant clones may be responsible for the resistance of Hevea leaves. Even though the purified RNAs were intact and the cDNA probe did not have problems with homology and labelling, expressions of beta-1,3- glucanase and chitinase genes at the level of RNA were not able to pursue. However, the level of total RNA was shown to express much higher after fungal infection. The increase of total RNA will include the RNAs of the two enzymes because, as reported in other plants, they were induced at the level of transcription.-
dc.format39 แผ่น : ภาพประกอบen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectกลูคาเนสen_US
dc.subjectยางพาราen_US
dc.subjectไคติเนสen_US
dc.subjectเชื้อราen_US
dc.subjectไอโซไซม์en_US
dc.subjectยีนต้านเชื้อราen_US
dc.subjectยางพารา โรคและศัตรูพืชen_US
dc.titleการแสดงออกของยีนต้านเชื้อรา (เบต้า-1, 3-กลูคาเนสและไคติเนส) ในยางพาราen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัย การแสดงออกของยีนต้านเชื้อรา (เบต้า-1, 3-กลูคาเนสและไคติเนส) ในยางพารา-
dc.typeงานวิจัยen_US
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีวเคมีen_US
dc.description.abstract-thการบ่มใบยางด้วยสปอร์ของเชื้อรา Phytophthora palmivora ความเข้มข้น1x10 สปอร์/มล. สามารถกระตุ้นการแสดงออกของยีนต้านเชื้อรา (เบต้า-1,3- กลูคาเนสและไคติเนส) โดยตรวจพบแอคติวิตีของเอนไซม์ทั้งสอง (72 ชม. หลังการ ติดเชื้อ) เพิ่มขึ้นประมาณ 2-3 เท่าเมื่อเปรียบเทียบกับการทดลองชุดควบคุม หลัง จากบ่มด้วยเชื้อรา ใบยางพันธุ์ BPM-24 (พันธุ์ต้านทาน) ถูกกระตุ้นให้มีการแสดง ออกของยีนทั้งสองได้เร็วกว่า และสามารถรักษาระดับของเอนไซม์ดังกล่าวไว้ได้นาน กว่าพันธุ์ RRIM600 (พันธุ์อ่อนแอ) นอกจากนี้ในยางพาราทั้งสองพันธุ์ ค่าโปรตีน รวม (โปรตีนอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงเอนไซม์ทั้งสองด้วย) ก็ถูกกระตุ้นโดยเชื้อราให้เพิ่มขึ้นใน ปริมาณและอัตราเร็วที่คล้ายคลึงกับการเพิ่มขึ้นของเอนไซม์ทั้งสอง ในการทดลองชุด ควบคุมตรวจพบเบต้า-1,3-กลูคาเนส จํานวน 1 ไอโซไซม์ (c) และ 3 ไอโซไซม์ (a, b, c) ในใบยางพันธุ์ RRIM600 และ BPM-24 ตามลําดับ หลังจากบ่มด้วยเชื้อรา ไอโซไซม์ b และ C ไม่ตอบสนองต่อเชื้อรา แต่ปรากฏแถบใหม่เพิ่มขึ้นพันธุ์ละ 1 ไอโซไซม์ (d) ซึ่งมีขนาดเท่ากัน และตรวจพบไคติเนสจํานวน 2 ไอโซไซม์ (x,y) และ 3 ไอโซไซม์ (x, y, z) ในยางชุดควบคุมพันธุ์ RRIM600 และ BPM-24 ตาม ลําดับ หลังจากบ่มด้วยเชื้อราพบว่าไอโซไซม์ y และ 2 มีการแสดงออกมากขึ้น ใน ขณะที่ไอโซไซม์ x มีปริมาณลดลงหลังติดเชื้อรา 72 ชม. ไอโซไซม์ 2 ซึ่งพบเฉพาะใน ยางพันธุ์ BPM-24 และพันธุ์อื่น ๆ ที่มีความต้านทานต่อเชื้อรา อาจมีบทบาทสําคัญต่อ การต้านทานโรคในยางพารา สําหรับการแสดงออกของยีนในระดับอาร์เอ็นเอ ผู้วิจัย ไม่สามารถติดตามผลการเพิ่มขึ้นของอาร์เอ็นเอของเอนไซม์เบต้า-1,3-กลูคาเนสและ ไคติเนส แม้ว่าอาร์เอ็นเอที่เตรียมได้อยู่ในสภาพดีคือไม่ถูก degrade และดีเอ็นเอ ติดตามก็ไม่มีปัญหาเรื่อง homology และการติดฉลาก อย่างไรก็ตามผู้วิจัยได้แสดง ให้เห็นการเพิ่มขึ้นของอาร์เอ็นเอรวมหลังการติดเชื้อรา ซึ่งจะรวมถึงอาร์เอ็นเอของ เอนไซม์ทั้งสองด้วย เพราะในพืชชนิดอื่นได้มีการรายงานไว้ว่า ยืนของเอนไซม์ ดังกล่าวถูกกระตุ้นที่ระดับ transcription-
Appears in Collections:328 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
license.html118 BHTMLView/Open
212237.pdf847.36 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.