Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19627
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorซีตีไซยีดะห์ สายวารี-
dc.contributor.authorอโนมา ธิติธรรมวงศ์-
dc.date.accessioned2025-01-07T04:13:27Z-
dc.date.available2025-01-07T04:13:27Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/research/1022322-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19627-
dc.description.abstractRecycled rubber (RR) from waste of natural rubber gloves was prepared via thermo-mechanical de vulcanization using DPDS as de-vulcanizing aids. After de- vulcanization, the recycled rubber has higher sol fraction and lower crosslink density than that of the untreated one. The de-vulcanization efficiency was then analyzed by Horikx's method and found that the random scission or non-selective breakdown of the rubber network, both main chain and crosslink scissions occurred in the de-vulcanization. Influence of sulfur content and accelerator ratio was investigated. Tensile strength increased with the sulfur content up to 1.5 phr while elongation at break decreased with increasing sulfur content. Moreover, the decreased trends of the mechanical properties were found after aging. Then, influnence of two accelerators: TBBS and TMTD ratio have been studied. It was found that the tensile strength and elongation at break decreased with increaseing TMTD ratio. The results showed that using sulfur at 1.5 phr and 0.8/0 phr of TBBS/TMTD ratio gave the best mechanical properties (both before and after heat aging). Effect of maleic anhydride (MA) loading level on cure charateristic and physical properties of recycled rubber was also studied. Increasing MA content resulted in an increase of vulcanization time however, decreases maximum torque and mechanical properties. Thermoplastic vulcanizates (TPVs) based on RR/PP blends via dynamic vulcanization were then prepared using internal mixer Various types of modifiers: MA, TESPT, SP-1055 and PDA were used and MA is found to be the rheological level wa properties of RR/PP TPVs. Moreover, effect of MA loading was found that the mechanical and rheological properties of with increasing MA content and reached a maximum value at MA Effect of various blend ratios of RR/PP and mixing temperature on tent 80 TPVs were also investigated. It was found that the RR/PP TPVs with a of 60/40 by weight and using mixing temperature of 170°C exhibited the best Finally, the investigation of recycle ability of RR/PP TPVS was studied. Results the decreasing trend of mechanical and rheological properties with increasing number of recycled times.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectเทอร์โมพลาสติกen_US
dc.subjectMaleic anhydrideen_US
dc.titleเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์จากยางรีไซเคิลจากเศษถุงมือยางธรรมชาติกราฟต์มาลิอิกแอนไฮไดร์ดผสมกับพอลิพรอพิลีนen_US
dc.title.alternativeThermoplastic Elastomer based on Recycled Rubber from Waste of Natural Rubber Gloves Blended with Polypropyleneen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Sciecnce and Technology (Rubber Technology and Polymer Science)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์-
dc.description.abstract-thเตรียมยางรีไชเคิล (Recycled rubber, RR) จากเศษถุงมือยางธรรมชาติผ่านกระบวนการ ดีวัลคาไนซ์ด้วยวิธีทางกลร่วมกับการใช้ความร้อนและใช้ไดฟินิลไดซัลไฟด์เป็นสารช่วยการดีวัลคาไนซ์ เมื่อ ผ่านการดีวัลคาไนซ์ RR มีปริมาณยางที่สามารถละลายได้เพิ่มขึ้นและความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ลดลง วิเคราะห์ประสิทธิภาพการดีวัลคาไนซ์โดยใช้เส้นกราฟจากสมการของ Horikx พบว่าในการดีวัลคาไนซ์ เกิดการตัดโครงข่ายโมเลกุลยางแบบสุ่ม (Random scission ) คือเกิดการตัดสายโชโมเลกุลหลักของยาง ควบคู่กับการแตกออกแบบจำเพาะเจาะจงตรงพันธะเชื่อมขวาง ศึกษาผลของปริมาณกำมะถันและอัตราส่วน ของสารตัวเร่งต่อสมบัติเชิงกลของยางรีไซเคิล พบว่าความต้านทานต่อแรงตึงของยางรีไซเคิลเพิ่มขึ้นจนถึง การใช้ปริมาณกำมะถันที่ 1.5 phr จากนั้นลดลงตามปริมาณกำะถันที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความสามารถในการ ยืดจนขาดมีค่าลดลงตามปริมาณกำมะถันที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้พบว่าสมบัติเชิงกลภายหลังบ่มเร่งของยางรี ไซเคิลมีคำาลดลง การศึกษาสมบัติเชิงกลของยางรีไซเคิลจากเศษถุงมือยางธรรมชาติแปรอัตราส่วนสารตัวเร่ง TBBS/TMTD พบว่ายางรีไชเคิลมีความต้านทานต่อแรงตึงและความสามารถในการยืดจนขาดลดลงตาม อัตราส่วนของสารตัวเร่ง TMTD ที่เพิ่มขึ้น และอัตราส่วนสารตัวเร่ง TBBS/TMTD = 0.8/0 phr ให้สมบัติ เชิงกลก่อนและหลังบ่มเร่งดีที่สุด สุดท้ายศึกษาสมบัติวัลคาไนซ์ของยางรีไซเคิลเมื่อมีมาลิอิกแอนไฮไดรด์ใน สูตรยาง ซึ่งมาลิอิกแอนไฮไดรด์ใช้เป็นสารดัดแปรในการเพิ่มความเข้ากันได้ในเทอร์โมพลาสติกอิลาสโตเมอร์ จากยางรีซเคิลจากเศษถุงมือยางธรรมชาติผสมกับพอลิพรอพิลีน พบว่าการเพิ่มปริมาณมาลิอิกแอนไฮไดรด์ ทำให้เวลาในการวัลคาไนซ์เพิ่มสูงขึ้นแต่คำาทอร์คสูงสุดและสมบัติเชิงกลของยางรีไซเคิลมีค่าลดต่ำลง จากนั้น ทำการเตรียมเทอร์โมพลาสติกวัลคาไนซ์ (Thermoplastic vulcanizate, TPVs) จากการ เบลนด์ระหว่าง RR และพอลิพรอพิลีน (Polypropylene, PP) ด้วยเครื่องผสมแบบปิด ศึกษาอิทธิพลของชนิดและปริมาณ ของสารดัดแปรต่อสมบัติเชิงกล สมบัติการไหล และลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ RR/PP TPVs พบว่าการ ใช้สารดัดแปร MA ให้สมบัติโดยรวมของ RR/PP TPVs ดีกว่าการใช้สารดัดแปร TESPT, SP-1055 และ PDA นอกจากนี้พบว่าสมบัติโดยรวมของ RR/PP TPVS ดีขึ้นตามปริมาณสารดัดแปร MA จนถึงปริมาณการใช้ที่ 80 meg จากนั้นสมบัติจะลดลง การศึกษาผลของอัตราส่วนการเบลนด์ระหว่าง RR/PP และอุณหภูมิในการ เตรียม TPVs พบว่าการ RR/PP TPVs ที่อัตราส่วนการเบลนด์ RR/PP ที่ 60/40 โดยน้ำหนัก และใช้อุณหภูมิ การผสมที่ 170*C เหมาะสมที่สุดที่ใช้ในการเตรียม RR/PP TPVs เนื่องจากให้สมบัติเชิงกล สมบัติการไหลและลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่ดีที่สุด สุดท้ายทำการศึกษาสมบัติRR/PP TPVs เมื่อนำกลับมาหลอมใหม่ พบว่า RR/PP TPVs มีสมบัติต่างๆลดลงตามจำนวนครั้งในการนำกลับมาหลอมใหม่en_US
Appears in Collections:741 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.