Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19619
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ไข่มุก อุทยาวลี | - |
dc.contributor.author | บรรจง ฟ้ารุ่งสาง | - |
dc.date.accessioned | 2024-12-26T08:23:10Z | - |
dc.date.available | 2024-12-26T08:23:10Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://tnrr.nriis.go.th/#/research/1033835 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19619 | - |
dc.description.abstract | Researching on the historical development of important cities in the southern local during the historical period for building a body of knowledge in multicultural education in the southern region, Thailand. the objectives of this article were 1. to examine the historical development of the birth of important cities in the southern part of the historical period 2. to examine the state of the multicultural society in the history of important cities in the south region and 3. to examine the guidelines for applying historical data from research to use in learning management to create an understanding of local history and learning to create a peaceful society by integrating from the concept of studying local history, the concept of peace and understanding of coexistence in different cultural societies, and the concept of using the community as a learning base and participating in the management of local history studies in research. The findings indicated that 1. The Historical development of the birth of important cities in the south especially the east coast namely Surat Thani, Nakhon Si Thammarat, Songkhla, and Pattani entered the historical period together from the end of the 11th-12th Buddhist century. Until around the 19th Buddhist century, where archeological traces reflect the founding of city groups in an ancient state and later developed in later times 2. The state of a multicultural society in the history of important cities in the southern region revealed that the multicultural society appears in the way of different people. Ethnicity, both indigenous and foreign the port city in the south was an important source for people from other countries to settle in both trade and cultural propagation to blend into the identity of the multicultural society of the people of the south in the later period. Being a multicultural society appears in terms of identity, language, ethnicity, religion, as well as cultural traditions in each locality and the guidelines for applying historical data from research to use in learning management to create an understanding of local history and learning to create a peaceful society revealed that The results of community-based utilization and society can use the knowledge from research to build an understanding of peace education learning and to resolve conflicts of opinion related to history. Besides, the knowledge from the research was also used to integrate the study of development and conservation of local cultural history. As well as a comparative study of the history of local knowledge from other countries in the country, which will have a beneficial effect on the development of humanities knowledge potential in the historical dimension. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.subject | สังคมพหุวัฒนธรรม | en_US |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ทอ้งถิ่น | en_US |
dc.subject | multicultural | en_US |
dc.subject | society | en_US |
dc.subject | local history | en_US |
dc.title | วิจัยพัฒนาการประวัติศาสตร์เมืองสำคัญในท้องถิ่นภาคใต้สมัยประวัติศาสตร์เพื่อการสร้างองค์ความรู้การศึกษาพหุวัฒนธรรมภาคใต้ประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Research, development, history, important cities in the local area, southern region for the history of knowledge building, multicultural education in southern Thailand | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Humanities and Social Sciences (History and Art) | - |
dc.contributor.department | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์และศิลปะ | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยพัฒนาการประวัติศาสตร์เมืองสำคัญในท้องถิ่นภาคใต้สมัยประวัติศาสตร์เพื่อการสร้างองค์ความรู้การศึกษาพหุวัฒนธรรมภาคใต้ประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์การกำเนิดเมืองสำคัญในภาคใต้สมัยประวัติศาสตร์ ศึกษาสภาพความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของเมืองสำคัญในภาคใต้ และศึกษาแนวทางในการนำข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและการเรียนรู้สร้างสังคมสันติ โดยบูรณาการแนวคิดการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น แนวคิดสร้างสันติสุขการรับรู้เข้าใจการอยู่ร่วมกันในสังคมต่างวัฒนธรรม และแนวคิดการใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้และมีการส่วนร่วมในการจัดการศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในการวิจัยผลการศึกษาพบว่าด้านพัฒนาการทางประวัติศาสตร์การกำเนิดเมืองสำคัญในภาคใต้สมัยประวัติศาสตร์เมืองสำคัญในภาคใต้ฝั่งทะเลตะวันออก ได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา และเมืองปัตตานีก้าวเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์ร่วมกันตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ 11–12 จนราวพุทธศตวรรษที่ 19 ที่ร่องรอยโบราณคดีสะท้อนการก่อตั้งกลุ่มเมืองในลักษณะรัฐโบราณและมีพัฒนาการต่อมาในสมัยหลัง ผลการวิจัยด้านศึกษาสภาพความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของเมืองสำคัญในภาคใต้พบว่า สภาพสังคมพหุวัฒนธรรมปรากฏในด้านวิถีผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ทั้งชนพื้นเมืองและชนต่างถิ่น เมืองท่าในภาคใต้เป็นแหล่งสำคัญที่ทำให้ผู้คนจากต่างถิ่นเข้ามาตั้งถิ่นฐานทั้งการค้าและการเผยแผ่วัฒนธรรมเกิดการผสมกลมกลืนกลายเป็นเอกลักษณ์สังคมพหุวัฒนธรรมของผู้คนภาคใต้สมัยต่อมา ความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมปรากฏทั้งด้านอัตลักษณ์ด้านภาษา ชาติพันธุ์ ศาสนา ตลอดจารีตประเพณีวัฒนธรรมในแต่ละท้องถิ่น และผลวิจัยด้านศึกษาแนวทางในการนำข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและการเรียนรู้สร้างสังคมสันติพบว่า ผลของการนำไปใช้ประโยชน์เชิงชุมชน และสังคมสามารถนำองค์ความรู้จากการวิจัยต่อยอดการสร้างความเข้าใจในการเรียนรู้ด้านสันติศึกษาและการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางความคิดที่เกี่ยวเนื่องกับประวัติศาสตร์ องค์ความรู้จากการวิจัยยังนำไปบูรณาการการศึกษาแนวการพัฒนาและอนุรักษ์ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมท้องถิ่น ตลอดจนการศึกษาประวัติศาสตร์เปรียบเทียบองค์ความรู้ท้องถิ่นอื่นในประเทศซึ่งย่อมส่งผลดีต่อการพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์ในมิติประวัติศาสตร์ | en_US |
Appears in Collections: | 425 Research |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.