Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยุทธนา เพ็งแจ่ม-
dc.contributor.authorเอกราช นวลละออง-
dc.contributor.authorณัฐดา ต้นวงศ์-
dc.contributor.authorปิยะวุฒิ แสวงผล-
dc.contributor.authorภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์-
dc.date.accessioned2024-12-26T02:47:38Z-
dc.date.available2024-12-26T02:47:38Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://tnrr.nriis.go.th/#/research/1038033-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19612-
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectสารสกัดจากพืชen_US
dc.subjectพืชสมุนไพรen_US
dc.subjectPlant extractsen_US
dc.subjectMedicinal plantsen_US
dc.subjectการสลายกระดูกen_US
dc.subjectฺBone resorptionen_US
dc.titleการศึกษาการออกฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรต่อการแสดงออก รูปแบบการทำนาย และการตรวจสอบความถูกต้องของลำดับพันธุกรรมเป้าหมายของ miRNA ในกระบวนการสร้างเซลล์สลายกระดูกen_US
dc.title.alternativeStudy on the effects of medicinal plant extracts on expression, predictive and validation model of miRNA target genetic sequences in osteoclastogenesisen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Medical Technology-
dc.contributor.departmentคณะเทคนิคการแพทย์-
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Biology)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาชีววิทยา-
dc.contributor.departmentFaculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)-
dc.contributor.departmentคณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์-
dc.description.abstract-thสารประกอบ curcuminoids เป็นสารสำคัญที่พบในขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) และสามารถยับยั้ง กระบวนการสลายกระดูก อย่างไรก็ตาม สารประกอบ curcuminoids ยังคงมีสมบัติทางเภสัชจลนศาสตร์ที่ไม่ เหมาะสมต่อการนำไปใช้ทางการแพทย์ ด้วยเหตุนี้ คณะผู้วิจัยจึงพัฒนาสารประกอบ curcuminoids รูปแบบใหม่ โดยเตรียมสารสกัด curcuminoid-rich extract (CRE) ที่มีองค์ประกอบเป็นสารประกอบ curcuminoids จากนั้น คณะผู้วิจัยใช้เทคนิค solid dispersion เพื่อเตรียมสาร CRE-SD จากสาร CRE และห่อหุ้ม (encapsulate) ผลการ ทดสอบ in vitro ยืนยันว่า liposomal CRE-SD สามารถยับยั้งการสร้างเซลล์สลายกระดูกผ่านการยับยั้งกลไก phosphorylation ของ p65 และ I?B? รวมทั้งกลไกการถอดรหัส DNA (transcription) ของ p65 ที่มีการเติม หมู่ฟอสเฟต (phosphorylated p65) ผลการจำลองการจับกันระหว่างโมเลกุล (blind docking simulation) ระบุ ว่า สาร curcuminoids มีความสามารถในการจับ (binding affinity) กับสารประกอบโปรตีนเชิงซ้อนของ I?B?, p50 และ p65 ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลอง in vitro ข้างต้น เมื่อพิจารณาผลการศึกษา mmu-miR-223-3p พบว่า mutant form ของ mmu-miR-223-3p สามารถจับกับ target ชื่อว่า Nfat5 อนึ่ง liposomal CRE-SD สามารถลดการแสดงออกของ primary, precursor และ mature microRNA-223 (miRNA-223) ในเซลล์สลาย กระดูก ดังนั้น liposomal CRE-SD จึงสามารถยับยั้งการสร้างเซลล์สลายกระดูกผ่านกลไกการส่งสัญญาณ canonical NF-?B signaling pathway และสามารถลดการแสดงออกของ miRNA-223 ในเซลล์สลายกระดูก ซึ่ง อาจนำไปใช้ในการพัฒนาเป็นยารักษาโรคกระดูกที่มีการสร้างเซลล์สลายกระดูกมากกว่าปกติต่อไปen_US
Appears in Collections:135 Research
330 Research
570 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.