Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19596
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSomsmorn Chittrakan-
dc.contributor.authorHawanee Saca-
dc.date.accessioned2024-07-26T04:15:20Z-
dc.date.available2024-07-26T04:15:20Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19596-
dc.descriptionMaster of Science (Pharmacology), 2019en_US
dc.description.abstractKratom (Mitragyna speciosa (Korth.) Havil.) belonging to the family Rubiaceae is the native plant in Southern Thailand. Mitragynine is the major alkaloid from kratom leaves. It has many pharmacological activities such as analgesic, antidiarrheal as well as anti-inflammatory effects. However, it has been reported as CYP450 enzymes inhibitors, especially CYP2D6. CYP2D6 is an enzyme which plays a role in the codeine metabolism to morphine. The combination use of kratom leaves and codeine may alter the pharmacokinetics of codeine. The objective of this study is to investigate the effect of mitragynine on the pharmacokinetics of codeine in mitragynine-pretreated rats. Rats were divided into two groups (n=13 per group). The first was the control group, rats were orally pretreated with the vehicle and another group was pretreated once a day with 15 mg/kg of mitragynine for seven consecutive days. After mitragynine or vehicle pretreatments, rats were administered single oral dose of codeine (25 mg/kg). Blood was collected from the tail vein at 0 before, and after 5, 10, 15, 30, 45, 60, 90, 120, 180, and 240 min of codeine administration. The plasma concentration versus time profile of codeine and morphine were analyzed by non-compartment pharmacokinetics model. Compared with the control group, the result showed that plasma concentration of codeine was significant increase in mitragynine pretreatment group. The relevant pharmacokinetic parameters were as follow: Cmax from 1.76 to 8.44 μg/mL, AUC4h from 193.74 to 774.87 μg min/mL and AUC0→∞ from 306.08 to 993.93 μg min/mL (p<0.05). Whereas the plasma concentration of morphine was significant decrease with Cmax from 2.32 to 0.45 μg/mL and AUC from 415.42 to 58.03 ug·h/mL (p<0.05). This study suggested that mitragynine was altered the pharmacokinetics of codeine in rats by increase codeine absorption and decrease codeinemetabolism to morphine. The inhibition of CYP2D6 isoenzyme by mitragynine postulated, which needs to further confirm this evidence.en_US
dc.description.sponsorship2017 The scholarship for Teacher Assistant from Faculty of Science, Prince of Songkla University 2019 Award for Academic Oral Presentation in National Academic Conference“สานพลังการก้าวข้ามขีดจํากัด เพื่อภาคใต้แห่งความสุข”en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherPrince of Songkla Universityen_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectCodeine Pharmacokineticsen_US
dc.titlePharmacokinetics of Codeine in Mitragynine-pretreated Ratsen_US
dc.title.alternativeเภสัชจลนศาสตร์ของโคเดอีนในหนูขาวใหญ่ที่ได้รับมิตรากัยนึนen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Science (Pharmacology)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเภสัชวิทยา-
dc.description.abstract-thพืชกระท่อม (Mitragyna speciosa (Korth.) Havil.) วงศ์ Rubiaceae เป็นพืชท้องถิ่นที่พบได้มากทางภาคใต้ของประเทศไทย มีสารกลุ่มอัลคาลอยด์ที่สําคัญ ได้แก่ สารมิตราภัยนั้น มีฤทธิ์ทาง เภสัชวิทยาในการระงับปวด แก้ท้องเสีย และยับยั้งการอักเสบ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตาม สารมิตรากัยนีน ในใบกระท่อม ยังมีฤทธิ์ในการยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ไซโทโครม พี450 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง CYP2D6 ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่มีบทบาทในการเมแทบอลิซึมยาโคเดอีน เป็นมอร์ฟีน การได้รับพืชกระท่อม ร่วมกับยาโคเดอีน อาจทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเภสัชจลนศาสตร์ของยาโคเดอีนได้ ดังนั้นการศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ของโคเดอีนในหนูขาวใหญ่ ภายหลังการได้รับมิตรา กัยนีน ทําการศึกษาโดยแบ่งหนูขาวออกเป็นสองกลุ่ม กลุ่มละ 13 ตัว หนูกลุ่มควบคุม จะได้รับการ เหนี่ยวนําด้วยตัวทําละลาย และหนูกลุ่มทดลองจะได้รับการเหนี่ยวนําด้วยมิตราภัยนั้น ขนาด 15 mg/kg โดยการป้อนทางปาก วันละหนึ่งครั้ง ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 7 วัน ภายหลังจากนั้น หนูขาวทั้งสองกลุ่ม จะได้รับยาโคเดอีน โดยการป้อนทางปาก ขนาด 25 mg/kg ทําการเก็บเลือดจากเส้นเลือดดําบริเวณปลายหาง ที่เวลา 0, 5, 10, 15, 30, 45, 60, 90, 120, 180 และ 240 นาที วิเคราะห์พารามิเตอร์ทางเภสัช จลนศาสตร์ด้วยแบบจําลองแบบไม่แบ่งส่วน ผลการศึกษาพบว่าหนูขาวกลุ่มที่ได้รับการเหนี่ยวนําด้วย มิตรากัยนั้น มีความเข้มข้นของโคเดอีนในเลือดสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยมีค่าC เพิ่มขึ้นจาก 1.76 เป็น 8.44 ug/mL ค่า AUC และ AUC-2 เพิ่มขึ้นจาก 193.74 เป็น 774.87 ugmin/mL และ 306.08 เป็น 993.93 แg-min/mL ตามลําดับ ในขณะที่ความเข้มข้นของมอร์ฟีนกลุ่ม ทดลองต่ํากว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยมีค่า C ลดลงจาก 2.32 เป็น 0.45 ug/mL และ AUC ลดลงจาก 415.42 เป็น 58.03 4g-min/mL ดังนั้นผลการทดลองนี้จึงสามารถสรุปได้ ว่า สารมิตรากัยนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงเภสัชจลนศาสตร์ของโคเดอีนไปจากเดิม โดยเพิ่มการดูดซึม โคเดอีน และลดการแปรรูปเป็นมอร์ฟีน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสันนิษฐานว่าอาจผ่านการยับยั้งการทํางาน ของเอนไซม์ CYP2D6 ภายในตับ ดังนั้นจึงจําเป็นที่จะต้องทําการศึกษากลไกการยับยั้งต่อไปในอนาคตen_US
Appears in Collections:336 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
437375.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons