Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19568
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เสาวภา ด้วงปาน | - |
dc.contributor.author | ชุติมา ต้องชู | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-25T07:02:23Z | - |
dc.date.available | 2024-07-25T07:02:23Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19568 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พืชศาสตร์), 2562 | en_US |
dc.description.abstract | Silicon is a beneficial element for plant which promotes several benefits in various mechanisms in plant. This present study aimed to investigate the effects of silicon on growth and physiological characters in oil palm seedlings. The experimental design was completely randomized design with 3 replications. The experiment composed of 4 rates of calcium silicate (0, 0.5, 3.5 and 7 gram per plant). The results showed that oil palm is silicon-accumulating plant. The increased rate of calcium silicate resulted in increased concentration of silicon in oil palm seedlings. Also, the more calcium silicate applied the higher translocation factor from root to leaf observed. In addition, silicon affected growth in oil palm seedlings. The results showed that high level of calcium silicate applied to oil palm seedlings enhanced relative growth rate of biomass and biomass allocation from root to shoot. Moreover, the relative growth rates of plant height, leaf length and stem diameter were positively affected by calcium silicate. The higher relative growth rate of plant height, stem diameter and leaf length were observed when higher concentrations of calcium silicate were applied. Additionally, the results suggested that silicon affected physiological characters in oil palm seedlings. The increased photosynthesis efficiency was demonstrated with higher concentration of calcium silicate applied. Chlorophyll content and total nitrogen accumulation in leaf tended to increase in the calcium silicate-treated seedling when compared to control. These results could be used for utilization of silicon in oil palm seedling production. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | ปาล์มน้ำมัน การเจริญเติบโต | en_US |
dc.subject | ซิลิกอน | en_US |
dc.title | ผลของซิลิกอนต่อการเจริญเติบโตและสรีวิทยาของดันกล้าปาลัมน้ำมัน | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Silicon on Growth and Physiological Characters in Oil Palm Seedlings | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Natural Resources (Plant Science) | - |
dc.contributor.department | คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | ซิลิกอนเป็นธาตุอาหารเสริมประโยชน์สําหรับพืช ช่วยส่งเสริมให้พืชได้รับประโยชน์หลายประการ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของซิลิกอนต่อการเจริญเติบโตและสรีรวิทยา ของต้นกล้าปาล์มน้ํามัน โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ จํานวน 3 ซ้ำๆ ละ 1 ต้น ให้ แคลเซียมซิลิเกตในปริมาณที่แตกต่างกัน 4 ระดับ คือ ชุดการทดลองที่ 1 ไม่ให้แคลเซียมซิลิเกต (ชุด ควบคุม) ชุดการทดลองที่ 2 3 และ 4 ให้แคลเซียมซิลิเกต 0.5 3.5 และ 7.0 กรัมต่อต้น ตามลําดับ ผลการทดลอง พบว่า ปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่สามารถสะสมซิลิกอนได้ เนื่องจากพบความเข้มข้นของ ซิลิกอนในต้นกล้าปาล์มน้ํามันเพิ่มขึ้นเมื่อให้ซิลิกอนเพิ่มขึ้น รวมถึงส่งผลให้ปัจจัยการเคลื่อนย้ายของซิลิกอนจากรากสู่ใบเพิ่มขึ้น การให้ซิลิกอนจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน้ํามัน เมื่อต้นกล้าปาล์ม น้ํามันได้รับซิลิกอนเพิ่มขึ้น ทําให้อัตราการเจริญเติบโตสัมพัทธ์ของมวลชีวภาพเพิ่มขึ้น และมีการ จัดสรรมวลชีวภาพไปยังส่วนเหนือดินมากขึ้น รวมทั้งอัตราการเจริญเติบโตสัมพัทธ์ของความสูง ขนาด เส้นรอบวงของโคนต้น และความยาวใบของต้นกล้าปาล์มน้ํามันเพิ่มขึ้น เมื่อได้รับซิลิกอนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า การใช้ซิลิกอนจะมีผลต่อการตอบสนองทางสรีรวิทยาของต้นกล้าปาล์มน้ํามัน โดยเมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุมที่ไม่ได้รับซิลิกอน พบว่า ซิลิกอนส่งผลให้ ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงของต้นกล้าปาล์มน้ํามันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น รวมถึงยังมีแนวโน้มช่วยเพิ่มปริมาณรงควัตถุที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง และปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในใบซึ่ง เป็นองค์ประกอบหลักของคลอโรฟิลล์มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งข้อมูลดังกล่าวสามารถใช้เป็นข้อมูล พื้นฐานที่เกิดประโยชน์ในการนําซิลิกอนมาใช้ในการผลิตกล้าปาล์มน้ํามันต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | 510 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
437635.pdf | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License