Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19550
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Boonsin Tangtrakulwanich | - |
dc.contributor.author | Walaiporn Pramchoo | - |
dc.date.accessioned | 2024-07-09T08:43:56Z | - |
dc.date.available | 2024-07-09T08:43:56Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19550 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Epidemiology), 2019 | en_US |
dc.description.abstract | Background Rubber tapping is an occupation with a high risk for developing carpal tunnel syndrome (CTS). Exposure to forceful exertion and repetitive excessive ulnar deviation from performing tapping may be associated with CTS development, which can impair hand function, health-related quality of life (HRQoL) and productivity. We developed a new ergonomic tapping knife with the aim to reduce the need for an awkward wrist posture during rubber tapping. This study aimed to (1) evaluate the ergonomic risk factors of CTS among rubber tappers, (2) compare HRQoL and impairment in tapping and daily activities among rubber tappers with and without CTS, and (3) evaluate changes in the severity symptoms of CTS, HRQoL, and impairment in tapping and daily activities after using the ergonomically designed tapping knife. Method For the first objective, a case-control study was conducted using convenience sampling among rubber tappers who were members of the Pawong Rubber Fund Cooperative in Pawong subdistrict, Mueang district, Songkhla province, Thailand. The Boston Carpal Tunnel Syndrome Questionnaire (BCTQ) and Phalen's test and Tinel's sign were used to identify 133 cases with CTS and 401 non-CTS controls. All participants were interviewed and visited at their rubber plantation to make a video recording of their rubber tapping method, and based on the recordings Rapid Upper Limb Assessment (RULA) scores were calculated. The second objective used a cross-sectional methodology. 133 tappers with CTS (cases) and 133 tappers without CTS (controls) were selected by simple random sampling. All participants were face-to-face interviewed using the European Quality of Life Five Dimension Three Level questionnaire (EQ-5D-3L) to measure HRQOL and the Work Productivity and Activity Impairment questionnaire: General Health (WPAI:GH) was used to assess work productivity and impairment. For the third objective, we conducted a non-randomized controlled trial among 208 rubber tappers who had participated in the first part of the study. They were divided voluntarily into two groups, an intervention group (new ergonomic rubber tapping knife) and a control group (traditional knife). Each group consisted of 52 tappers with CTS symptoms and 52 without CTS symptoms. Each tapper was visited at their rubber plantation and video recordings were made to be used in scoring Rapid Upper Limb Assessment (RULA) by 2 assessors. All participants were followed for 7 months. BCTQ, EQ-5D-3L and WPAI:GH scores were assessed, plus wrist posture assessment using RULA, before and after the intervention. Results (1) Middle age, lower and higher BMI, female, underlying disease, higher number of trees tapped at or below knee level and collecting latex were independent risk factors associated with CTS. The video recordings showed that tapping at higher than chest level involved more awkward wrist postures than tapping at a lower level. Among right-handed tappers right wrist flexion and/or extension was significantly less common in the CTS group than in the non-CTS group (OR=0.4, 95% CI 0.2, 0.6). Significantly higher proportions of right wrist flexion and/or extension, left wrist radial and/or ulnar deviation, and left wrist twist were observed among right-handed tappers who tapped the rubber trees at levels higher than chest level. The relationship of hand/wrist postures and tapping height was similar in both CTS and non-CTS tappers. (2) The rubber tappers with CTS were significantly more impaired in terms of their usual activities and reported more pain and/or discomfort than the non- CTS tappers. Pain and/or discomfort was a mediator between CTS and usual activities. The CTS group had significantly higher impairment in both tapping and daily activities than the non-CTS group. In addition, the degree of symptom severity in the CTS group was related to the degree of tapping impairment. (3) The new ergonomic rubber tapping knife could significantly decrease the CTS symptom severity scores by improving wrist posture. In addition, the rubber tappers who used the new ergonomic knife had reduced HRQOL problems for usual activities and pain/discomfort compared with tappers using the traditional knife. Impairment in terms of tapping and daily activities among the CTS tappers were also significantly improved after changing from the traditional to the ergonomic knife. Conclusion The physical ergonomic risk factors for CTS among rubber tappers were the number of tapped trees at or below knee level and collecting latex. We confirmed that CTS affects both HRQOL and impairment in a dose-response pattern. Our new ergonomic rubber tapping knife would be helpful for both primary and secondary prevention of CTS among rubber tappers. | en_US |
dc.description.sponsorship | Thailand Research Fund through the Golden Jubilee Ph.D. Programme | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Health status indicators Thailand Songkhla | en_US |
dc.subject | Carpal tunnel syndrome Thailand Songkhla | en_US |
dc.title | Carpal Tunnel Syndrome among Rubber Tappers: Ergonomic Risk Factors, Health-Related Quality of Life, Impairment of Work and Daily Activity, and the Effect of Using an Ergonomic Rubber Tapping Knife | en_US |
dc.title.alternative | โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ประกอบอาชีพกรีดยาง: ปัจจัยเสี่ยงด้านการยศาสตร์, คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ, การสูญเสียประสิทธิภาพในการทำงานและกิจวัตรประจำวันและผลจากการใช้มีดกรีดยางการยศาสตร์ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Medicine (Epidemiology) | - |
dc.contributor.department | คณะแพทยศาสตร์ สาขาวิชาระบาดวิทยา | - |
dc.description.abstract-th | อาชีพกรีดยางเป็นอาชีพที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคการกดทับเส้นประสาท บริเวณข้อมือ เนื่องจากมีลักษณะการทํางาน โดยมีการงอข้อมือ บิดข้อมือ ต้องออกแรงใช้แขน ข้อมือและนิ้วมือเพื่อกํามีดกรีดยางและกรีดต้นยางแต่ละต้นต่อเนื่องเป็นเวลานานซึ่งอาจก่อให้เกิด โรค และอาจส่งผลให้สูญเสียความสามารถในการทํางานลดลง ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและกิจวัตร ประจําวันต่างๆ การศึกษานี้ได้ออกแบบมีดกรีดยางการยศาสตร์เพื่อลดท่าของมือที่ไม่เหมาะสม ขณะกรีดยาง วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ (1) เพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของโรคการ กดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ประกอบอาชีพกรีดยาง (2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตด้าน สุขภาพและการสูญเสียประสิทธิภาพในการทํางานและกิจวัตรประจําวันในผู้ประกอบอาชีพกรีด ยางทั้งที่มีอาการและไม่มีอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (3) เพื่อประเมินการ เปลี่ยนแปลงระดับความรุนแรงของอาการการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และการสูญเสียประสิทธิภาพในการทํางานและกิจวัตรประจําวันหลังจากใช้มีดกรีดยาง การยศาสตร์ ระเบียบวิธีการศึกษา วัตถุประสงค์ที่ 1 เป็นการศึกษาแบบมีกลุ่มควบคุมโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ เฉพาะเจาะจง ในผู้ประกอบอาชีพกรีดยางที่เป็นสมาชิกสหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านดอนขี้เหล็ก ตําบลพะวง อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างถูกสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม บอสตัน ฉบับภาษาไทยและตรวจประเมินอาการโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือด้วยวิธี Phalen's test และ Tinel's sign เพื่อคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ได้กลุ่มตัวอย่าง 133 รายที่มีอาการโรคการ กดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (กลุ่มศึกษา) และ 401 รายที่ไม่มีอาการโรคการกดทับ เส้นประสาทบริเวณข้อมือ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดถูกสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามข้อมูล ทั่วไปและข้อมูลเกี่ยวกับการทํางานรวมทั้งถูกบันทึกวีดิโอท่าทางการกรีดยาง โดยท่าทางที่ถูก บันทึกนํามาคิดคะแนนเพื่อประเมินระดับความรุนแรงของท่าทางการทํางานด้วยแบบประเมิน Rapid Upper Limb Assessment (RULA) วัตถุประสงค์ที่ 2 แบบการศึกษาแบบตัดขวาง ในกลุ่มตัวอย่าง 133 รายมีอาการ ของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือและ 133 รายที่ไม่มีอาการของโรคการกดทับ เส้นประสาทบริเวณข้อมือ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดถูกสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถาม European Quality of Life Five Dimension Three Level questionnaire (EQ-SD-3L) เพื่อวัดคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และแบบสอบถาม Work Productivity and Activity Impairment questionnaire: General Health (WPAI:GH) เพื่อประเมินการสูญเสียประสิทธิภาพในการทํางานและกิจวัตรประจําวัน วัตถุประสงค์ที่ 3 แบบการศึกษาทดลองแบบไม่สุ่ม ในกลุ่มตัวอย่าง 104 รายเป็น กลุ่มทดลอง (ใช้มีดกรีดยางการยศาสตร์) และ 104 รายเป็นกลุ่มควบคุม (ใช้มีดกรีดยางแบบเดิม) โดยในแต่ละกลุ่มมี 52 รายที่มีอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือและ 52 ราย ไม่มี อาการโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดได้รับการติดตามเป็นเวลา 7 เดือน โดยทั้งก่อนและหลังดําเนินการทดลอง กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดได้รับการสัมภาษณ์ด้วย แบบสอบถามบอสตัน, แบบสอบถามวัดคุณภาพชีวิต (EQ-5D-3L) และแบบสอบถามประเมินการ สูญเสียประสิทธิภาพในการทํางานและกิจวัตรประจําวัน (WPAI:GH) ฉบับภาษาไทย ตรวจ ประเมินอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือด้วยวิธี Phalen's test และ Tinel's sign และบันทึกวีดิโอท่าทางการกรีดยางและนําวีดิโอมาประเมินระดับความรุนแรงของท่าทางการ ทํางานด้วย RULA ผลการศึกษา (1) วัยกลางคน, ค่าดัชนีมวลกายที่ต่ํากว่าและเกินกว่าเกณฑ์, เพศหญิง, โรค ประจําตัว, จําานวนต้นยางที่กรีดเพิ่มขึ้นที่ระดับเข่าหรือต่ํากว่าเข่าและการเก็บน้ํายาง เป็นปัจจัยเสี่ยง อิสระที่สัมพันธ์กับการมีอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ประกอบอาชีพ กรีดยาง การกรีดต้นยางที่สูงกว่าระดับอกทําให้เกิดท่าทางของข้อมือที่ไม่เหมาะสมมากกว่าการกรีดยางที่ระดับอกหรือต่ํากว่าระดับอก ในคนกรีดยางที่ถนัดมือขวาและมีอาการของโรคการกดทับ เส้นประสาทบริเวณข้อมือพบว่าข้อมือขวางอ และ/หรือ เหยียดน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่มีอาการของโรค การกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมืออย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (Odds Ratio = 0.4, 95% CI = 0.2, 0.6) นอกจากนี้ในคนกรีดยางที่ถนัดมือขวาและกรีดยางสูงกว่าระดับอก พบว่ามีข้อมือขวางอและ/หรือ เหยียด, ข้อมือซ้ายเบี่ยงออกไปทางหัวแม่มือ และ/หรือ เบี่ยงออกไปทางนิ้วก้อย, และบิด ข้อมือซ้าย เป็นสัดส่วนที่มากกว่าคนที่กรีดยางต่ํากว่าระดับอกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างท่าทางของมือ/ข้อมือและระดับความสูงของการกรีดยางมีความคล้ายคลึงกัน ในคนกรีดยางที่มีอาการและไม่มีอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ (2) คนกรีดยางที่มีอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือลด ความสามารถในการทํากิจกรรมปกติที่ทําเป็นประจํา, ลดความสามารถในการกรีดยางและการทํา กิจวัตรในชีวิตประจําวันและมีอาการปวด และ/หรือมีความไม่สบายของมือมากกว่ากลุ่มคนกรีดยางที่ไม่มีอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมืออย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งอาการปวด และ/หรือความไม่สบายของมือเป็นตัวแปรคั่นกลางระหว่างโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือและการทํากิจกรรมปกติ นอกจากนี้ยังพบว่าระดับความรุนแรงอาการของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือมีความสัมพันธ์กับการลดระดับความสามารถในการกรีดยาง (3) มีดกรีดยางการยศาสตร์สามารถลดคะแนนระดับความรุนแรงของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือโดยการช่วยปรับปรุงท่าทางของข้อมือขณะกรีดยาง นอกจากนี้พบว่า การกรีดยางและทํากิจวัตรในชีวิตประจําวันและอาการปวด/ไม่สบายของมือในกลุ่มที่มีอาการของ โรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือปรับดีขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติหลังจากเปลี่ยนจากใช้มีดกรีดยางแบบเดิมมาเป็นใช้มีดกรีดยางการยศาสตร์ สรุป ปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ของโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ประกอบอาชีพกรีดยางคือจํานวนต้นยางที่กรีดเพิ่มขึ้นที่ระดับเข่าหรือต่ํากว่าเข่าและเก็บน้ํายาง พบว่าโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือส่งผลกระทบทั้งคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพและการสูญเสียประสิทธิภาพตามความรุนแรงของรอยโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ มีดกรีดยางการยศาสตร์สามารถป้องกันการเกิดโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือในผู้ประกอบอาชีพกรีดยางทั้งในระดับปฐมภูมิและระดับทุติยภูมิ | en_US |
Appears in Collections: | 350 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
436080.pdf Restricted Access | 5.3 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
This item is licensed under a Creative Commons License