กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19536
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบุษกร พันธ์เมธาฤทธิ์-
dc.contributor.authorปภัสร์ธนัน ธาราพรพิวัชร์-
dc.date.accessioned2024-07-09T04:25:50Z-
dc.date.available2024-07-09T04:25:50Z-
dc.date.issued2019-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19536-
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเด็ก), 2562en_US
dc.description.abstractThis quasi-experimental, two group, pre-post test study aimed to determine the effects of the integration of nursing care and Reiki energy healing program on anxiety and physiological changes in children with cancer receiving chemotherapy. The sample consisted of children aged 7-17 years with cancer receiving chemotherapy. Data collection was first conducted in the control group and then in experimental group. Purposive sampling was used to select sample into a control group (n = 20), who received the usual nursing care, and an experimental group (n = 20), who received the usual nursing care and the integration of nursing care and Reiki energy healing program. The study instruments consisted of 2 parts. Part 1 was the intervention program and the record form of the integration of nursing care and Reiki energy healing program. Part 2 was a questionnaire for demographic data, visual analogue anxiety scale, and physiological changes record form. The content validity of the program and all instruments was validated by three expert. Reliability of the tool was tested by test-retest, yielding Pearson correlation coefficients of visual analogue anxiety scale, pulse pressure record form, systolic blood pressure record form, and diastolic blood pressure record form of .95, .91, .90, and .87, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, chi-square and t-test. The results revealed that: 1. The mean score of anxiety in the experimental group after participating in the integration of nursing care and Reiki energy healing program was significantly lower than that of before participating in the integration of nursing care and Reiki energy healing program (t = 9.88, p = .000). 2. The mean score of anxiety in the experimental group after participating in the integration of nursing care and Reiki energy healing program was significantly lower than that of the control group receiving the usual nursing care (t = 6.32, p = .000). 3. The means of physiological changes in the experimental group after participating in the integration of nursing care and Reiki energy healing program were significantly lower within normal ranges than those of before participating in the integration of nursing care and Reiki energy healing program, such as pulse pressure (t = 8.93, p = .000), systolic blood pressure (t = 8.13, p = .000), and diastolic blood pressure (t = 6.77, p = .000). 4. The means of physiological changes in the experimental group after participating in the integration of nursing care and Reiki energy healing program were significantly lower within normal ranges than those in the control group, such as pulse pressure (t = 3.31, p = .001), systolic blood pressure (t = 2.61, p = .0065), and diastolic blood pressure (t = 3.03, p = .002). 5. The mean score of anxiety (t=-0.88, p = .386) and the means of physiological changes such as pulse pressure (t = 1.23, p = .228), systolic blood pressure (t = 0.15, p = .883), and diastolic blood pressure (t = -0.09, p = .929) in the control group and experimental group before the experiment were not significantly different. 6. The mean score of anxiety (t = -1.00, p = .330) and the means of physiological changes such as pulse pressure (t = 0.76, p = .456), systolic blood pressure (t = 0.43, p = .675), and diastolic blood pressure (t = -1.24, p = .230) in the control group before and after receiving the usual nursing care were not significantly different. The results revealed that the integration of nursing care and Reiki energy healing program can reduce anxiety and physiological changes such as pulse and blood pressure in children with cancer. Therefore, nurse team should support the use of the integration of nursing care and Reiki energy healing program in the pediatric ward as an alternative way in promoting physical and psychological dimensions of children with cancer receiving chemotherapy.en_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectมะเร็งในเด็ก เคมีบำบัด การพยาบาลen_US
dc.subjectเด็ก โรค การดูแลen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสานพลังบำบัดเรกิต่อความวิตกกังวลและการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัดen_US
dc.title.alternativeEffects of the Integration of Nursing Care and Reiki Energy Healing Program on Anxiety and Physiological Changes in Children With Cancer Receiving Chemotheraphyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Nursing (Pediatric Nursing)-
dc.contributor.departmentคณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบ 2 กลุ่ม โดยวัดก่อนและหลังการทดลอง มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสานพลังบําบัดเรกต่อความวิตกกังวล และการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบําบัด โดยทําการศึกษาในกลุ่ม ตัวอย่างผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบําบัดที่มีอายุ 7 - 17 ปี เก็บรวบรวมข้อมูลในกลุ่มควบคุมก่อน แล้วจึงทําการเก็บข้อมูลในกลุ่มทดลอง แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 คน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการพยาบาล ตามปกติ และกลุ่มทดลอง 20 คน ซึ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการ พยาบาลที่ผสมผสานพลังบําบัดเรกิ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษามี 2 ส่วน คือ (1) เครื่องมือที่ใช้ในการ ดําเนินการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสานพลังบําบัดเรกิ และแบบบันทึกการทดลอง โปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสานพลังบําบัดเรกิ (2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล มาตรวัดความวิตกกังวล และแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยวิธีการ ทดสอบซ้ํา ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันของมาตรวัดความวิตกกังวล แบบวัดชีพจร แบบวัด ความดันซิสโตลิค และแบบวัดความดันไดแอสโตลิค เท่ากับ .95, 91, 90 และ 87 ตามลําดับ ทําการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติไคสแควร์ และสถิติทดสอบที่ ผลวิจัยพบว่า 1. ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสาน พลังบําบัดเรามีคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลน้อยกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 9.88, p = .000) 2. ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสาน พลังบําบัดเรกมีคะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวลน้อยกว่ากลุ่มควบคุมหลังได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = 6.32, p = .000) 3. ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสาน พลังบําบัดเรกมีค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ได้แก่ ชีพจร (t = 8.93, p = .000) ความดัน ซิสโตลิค (t = 8.13, p = .000) และความดันไดแอสโตลิค (t = 6.77, p = .000) ต่ํา (แต่อยู่ในเกณฑ์ ปกติ) กว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 4. ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในกลุ่มทดลองหลังเข้าร่วมโปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสานพลัง บําบัดเรกิ มีค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาได้แก่ ชีพจร (t = 3.31, p = .001) ความดันซิสโตลิค (t = 2.61, p = .0065) และความดันไดแอสโตลิค (t = 3.03, p = .002) ต่ํา (แต่อยู่ในเกณฑ์ปกติ) กว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 5. ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองก่อนการทดลองมีคะแนน เฉลี่ยความวิตกกังวล (t = -0.88, p = .386) และค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ได้แก่ ชีพจร (t = 1.23, p = .228) ความดันซิสโตลิค (t = 0.15, p = .883) และความดันไดแอสโตลิค (t = -0.09, p = .929) ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ 6. ผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในกลุ่มควบคุมก่อนและหลังได้รับการพยาบาลตามปกติมี คะแนนเฉลี่ยความวิตกกังวล (t = -1.00, p = .330) และค่าเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ได้แก่ ชีพจร (t = 0.76, p = 456) ความดันซิสโตลิค (t = 0.43, p = .675) และความดันไดแอสโตลิค (t = -1.24, p = .230) ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลวิจัยในครั้งนี้ จะเห็นได้ว่า โปรแกรมการพยาบาลที่ผสมผสานพลังบําบัดเรกิ สามารถช่วยลดความวิตกกังวลและการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ได้แก่ ชีพจรและความดัน โลหิตในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็ง ดังนั้น พยาบาลควรสนับสนุนให้มีการใช้โปรแกรมการพยาบาลen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:645 Thesis

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
435506.pdf2.48 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons