Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19475
Title: ชุมชนกับการธำรงรักษาฐานประชาธิปไตยชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
Other Titles: Community and the preservation of community democracy : A Case study of Khuanru Community, Rattaphum District, Songkhla Province
Authors: ชัยวัฒน์ โยธี
คณะรัฐศาสตร์
Faculty of Political Science
Keywords: ประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมของประชาชน;การพัฒนาชุมชน รัตภูมิ (สงขลา);สิ่งพิมพ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Issue Date: 2563
Publisher: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
Abstract: This study_ aims to study_ the development of community democracy in order to identify factors that hinder the preservation of the community democratic base of the Quan Ru community. This includes finding models or approaches*to developing local government using community-based democracy. qualitative research methods have been used by taking community lessons, in-depth interviews, and group discussions which include participatory and non-participatory observations The study found that the development of community democracy in the Quan Ru community. There are 4 things that can be demonstrated: 1) base formation consisting of being born by way of life and being born by state policy, 2) the development of the people's sector consisting of political management within the community, the discovery of community development guidelines and adaptation of the community 3) Expanding the community democracy base consists of using a community master plan and using community organizations as tools for success 4) Organization fusion as coordination of 3 organizations. locality, locality, locality, etc. The factors that hinder the preservation of the community democracy base of the Quan Rou community are factors within the community, namely: 1) individuals and leaders, 2) groups - organizations, consisting of The national gross economy. rapidly changing social structures affecting people's beliefs, the threat of COVID-19, social and cultural and religious aspects 3) the institutional aspects of governance are the disruption of local government mechanisms and the threat of national political mechanisms 4) social, cultural and religious factors, resulting in fewer people gathering in religious activities. External factors are: 1) Political is a national political phenomenon that changes and affects local government and the whole system structure 2) Economic aspects caused by government policies affecting local communities, especially agricultural policies, 3) Social and cultural aspects, which are rapid changes in the world that affect social structures at all levels, 4) The threat of COVID-19 has disrupted the community society in all dimensions, The model or approach to the development of local government using community democracy as a base is divided into 2 main areas of development: personnel development, followed by organizational development, which is developed in 3 levels: 1. Building a base of thought, 2. Level of development of individual potential, 3. The main focus of community affairs operations is on people's participation and critical consultation and integration
Abstract(Thai): การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพัฒนาการประชาชิปไตยชมชนและเพื่อคันหาปัจจัยที่เป็น อปสรรคต่อกาวร้ามรักษารานประชาชิปไตยชุมชนของขุมชนควนร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รวมถึงเพื่อ ค้นหาตัวแบบหรือแนวทางในการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นโดยใช้ประชาธิปไตยชุมชนเป็นฐาน ใช้วิธีวิจัยเชิง คุณภาพโดยการถอดบทเรียนชุมชน การสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและแบบไม่มี ส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า พัฒนาการประชาธิปไตยชุมชนของชุมชนควนรู แสดงให้เห็นได้ 4 ประการคือ 1) การก่อร่างสร้างฐาน ประกอบด้วยการก่อเกิดโดยวิถีชีวิตและการก่อเกิดโดยนโยบายของรัฐ 2) การพัฒนากลุ่ม ภาคประชาชน ประกอบด้วย การบริหารจัดการการเมืองภายในชุมชน, การค้นพบแนวทางในการพัฒนาชุมชน และการปรับตัวของชุมชน 3) การขยายฐานประชาธิปไตยชุมชน ประกอบด้วยการใช้แผนแม่บทชุมชน และ การใช้องค์กรชุมชนเป็นเครื่องมือสู่ความสำเร็จ 4) การหลอมรวมองค์กร เป็นการสอดประสานองค์กร 3 ประสานคือ ท้องที่ ท้องถิ่น ชุมชน และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการธำรงรักษาฐานประชาธิปไตยชุมชนของ ชุมชนควนรู คือ ปัจจัยภายในชุมชน ได้แก่ 1) ด้านบุคคลและผู้น่า 2) ด้านกลุ่ม - องค์กร ประกอบด้วย เศรษฐกิจมวลรวมระดับชาติ, โครงสร้างสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอันส่งผลต่อความเชื่อของประชาชน. การคุกามของโรคติดต่อโควิด 19, ด้านสังคมและวัฒนธรรมและศาสนา 3) ด้านสถาบันการปกครอง คือการ หยุดชะงักลงของกลไกการปกครองท้องถิ่น และการถูกคุกคามจากกลไกการเมืองระดับชาติ 4) ปัจจัยด้าน สังคม วัฒนธรรมและศาสนา ทำให้ประชาชนได้เข้ามารวมตัวกันในกิจกรรมทางศาสนาน้อยลง และปัจจัย ภายนอก คือ 1) ด้านการเมือง เป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองระดับชาติที่สร้างความเปลี่ยนแปลงและส่งผล กระทบต่อการปกครองท้องถิ่นและโครงสร้างทั้งระบบ 2) ด้านเศรษฐกิจ ที่เกิดจากนโยบายของรัฐบาลที่ส่งผล ต่อชุมชนท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายด้านการเกษตร 3) ด้านสังคมและวัฒนธรรม เป็นการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วของโลกซึ่งส่งผลต่อโครงสร้างทางสังคมในทุกระดับ 4) ภัยคูกคามจากโรคติดต่อโควิด 19 ทำให้ สังคมชุมชนต้องหยุดชะจักในทุกมิติ ทั้งนี้ตัวแบบหรือแนวทางในการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นโดยใช้ ประชาธิปไตยชุมชนเป็นฐาน เป็นการแบ่งความสำคัญของการพัฒนา 2 ส่วนหลักคือ การพัฒนาบุคลากร ระดับรองลงมาคือ พัฒนาองค์กร โดยเป็นการพัฒนาใน 3 ระดับคือ 1. ระดับการสร้างฐานคิด 2. ระดับการ พัฒนาศักยภาพบุคคล 3. ระดับปฏิบัติการกิจการชุมชน โดยหลักสำคัญเป็นการมุ่งเน้นให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วม และเกิดการปรึกษาหารือกันอย่างมีวิจารณญาณ และการหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกัน คำสำคัญ : ชุมชน, การธำรงรักษา, ประชาธิปไตยชุมชน
URI: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19475
Appears in Collections:196 Research

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
455333.pdf297.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.