Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19472
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Suchart Limkatanyu | - |
dc.contributor.author | Worathep Sae-Long | - |
dc.date.accessioned | 2024-06-07T09:02:17Z | - |
dc.date.available | 2024-06-07T09:02:17Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19472 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Civil Engineering), 2019 | en_US |
dc.description.abstract | This thesis presents the reinforced concrete (RC) frame element for the analysis of the RC columns characterized by light and insufficiently detailed transverse reinforcement. This type of column is defined as the "non-ductile" RC column and also found in the existing RC frame buildings designed and constructed before the introduction of modern seismic codes. The frame element in this study is derived based on the displacement-based formulation and the Timoshenko beam kinematics assumption is used to describe the variation of strains along the RC cross- section at the fiber section level. As a result, the axial-flexure interaction is automatically taken into the element stiffness matrix while shear action uncouples with those actions. The shear-flexure interaction is taken into account via the shear hysteretic curve. The presented shear force and shear strain relation in the shear hysteretic curve is adopted and modified from the research work of Mergos and Kappos (2008 and 2012). The degradation of shear strength due to the influence of inelastic flexural deformations is accounted in this modified shear hysteretic curve within the framework of the so-called " UCSD Shear-Strength Model". Linked displacement interpolation functions are used to solve the problematic phenomenon known as "shear locking" in the Timoshenko frame element. Finally, the importance of including shear response and shear-flexure interaction in the evaluation of the non-ductile RC columns are presented and discussed through the three numerical examples. Furthermore, the numerical examples are employed to verify the model accuracy and its capability to predict rather complex responses of the non-ductile RC columns. | en_US |
dc.description.sponsorship | Scholarship Awards for Thai Ph.D. Students under Thailand's Education Hub for Southern Region of ASEAN Countries , Scholarship from Faculty of Engineering, Prince of Songkla University | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Columns, Concrete | en_US |
dc.subject | Reinforced concrete structure | en_US |
dc.title | Reinforced Concrete Frame Element with Axial-Shear-Flexural Interaction Under Cyclic Loading | en_US |
dc.title.alternative | แบบจำลองโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงในแนวแกน-แรงเฉือน-แรงดัดภายใต้แรงแผ่นดินไหว | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Engineering Civil Engineering | - |
dc.contributor.department | คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา | - |
dc.description.abstract-th | ในงานวิจัยนี้นําเสนอแบบจําลองโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กสําหรับการ วิเคราะห์เสาคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งมีลักษณะการออกแบบเหล็กตามขวางหรือเหล็กปลอกซึ่งไม่ เพียงพอต่อการต้านทานแรงแผ่นดินไหว โดยเสาลักษณะนี้ถูกนิยามว่า เสาแบบ Non-ductile และ มักจะพบในโครงสร้างโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กซึ่งถูกออกแบบและก่อสร้างก่อนที่จะมีมาตรฐาน การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กต้านทานแรงแผ่นดินไหวดังเช่นในปัจจุบัน แบบจําลอง โครงข้อแข็งในการศึกษานี้สร้างมาจากวิธีการกระจัดและใช้สมมุติฐานทฤษฎีคานของ Timoshenko ในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงความเครียดตลอดหน้าตัดของเสา จากสมมุติฐานดังกล่าวแรงใน แนวแกนและแรงดัดจะมีปฏิสัมพันธ์กันอัตโนมัติ ในขณะที่ผลของแรงเฉือนไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กับแรงทั้งสอง แต่ผลของปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉือนและแรงดัดจะถูกใส่เข้าไปผ่านทางความสัมพันธ์ ระหว่างแรงเฉือนและความเครียดเฉือน ความสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉือนและความเครียดเฉือนในงานวิจัยนี้ได้ปรับปรุงมาจากงานวิจัยของ Mergos และ Kappos (ปี 2008 และ 2012) โดยการลดลง ของกําลังรับแรงเฉือนเนื่องมาจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงรูปเนื่องจากการดัดในช่วงอินอีลาสติก ถูกพิจารณาในความสัมพันธ์ดังกล่าวร่วมกับแบบจําลองการทํานายกําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีต เสริมเหล็กที่เรียกว่า แบบจําลองกําลังรับแรงเฉือน UCSD ภายใต้วิธีการกระจัดมักจะพบปรากฏการณ์ ที่เรียกว่า Shear locking เพื่อหลีกเลี่ยงปรากฏการณ์ดังกล่าว ในงานวิจัยนี้ได้ใช้ฟังก์ชันการกระจัดที่ เรียกว่า Linked displacement interpolation functions ในการประมาณฟังก์ชันการกระจัด สุดท้ายความสําคัญของการพิจารณาผลของแรงเฉือนและปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงเฉือนและแรงดัดใน การประเมินผลตอบสนองของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กถูกนําเสนอและอธิบายผ่านตัวอย่างทั้ง 3 นอกจากนี้ตัวอย่างนี้เหล่านี้ยังถูกใช้ในการพิสูจน์ความแม่นยําและความสามารถในการทํานาย พฤติกรรมที่ซับซ้อนของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กแบบ Non-ductile | en_US |
Appears in Collections: | 220 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
434781.pdf | 6.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License