Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Theera Eksomtramage | - |
dc.contributor.author | Jittra Kittimorakul | - |
dc.date.accessioned | 2024-06-07T08:59:12Z | - |
dc.date.available | 2024-06-07T08:59:12Z | - |
dc.date.issued | 2019 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19471 | - |
dc.description | Thesis (Ph.D., Plant Science)--Prince of Songkla University, 2019 | en_US |
dc.description.abstract | Curvularia leaf spot (CLS) is one of the diseases caused by Curvularia oryzae that can devastatingly damage both quality and quantity of oil palm seedlings in Thailand. Chemical fungicides have been intensively applied to control transmission of this disease. However, pathogen gains resistance to fungicide and causes low effectively. An alternative or complementary cost-effective and environmentally friendly approach is to find resistant varieties for disease management. In this study, a total of 122 lines of Dura female plant, 2 lines of Pisifera male plant, and 4 Tenera commercial varieties (A, B, C, and SUP-PSUI) were screened by Curvularia inoculation using detached leaf method. Two weeks after inoculation, the results showed 13 Dura lines were highly resistant to CLS (0% disease incidence), whereas line 129 and the commercial variety B were highly susceptible (100% disease incidence). From 13 Dura highly resistant lines, nine Tenera hybrid lines were selected to test against CLS under greenhouse conditions by pathogenicity test. Among nine Tenera hybrid lines, disease symptom was found to delay up to 12 days after inoculation in line 187. The disease score was 0.25 and disease incidence was 5% at 20 days after inoculation. Enzyme activity at 48 h of chitinase and B-1,3-glucanase after inoculations were 17.84 = 1.46 and 14.23 = 1.31 U mL"', respectively, higher than that of susceptible lines. CLS disease was found at 3 days after inoculation at the susceptible line 129. The study found that disease score was 4.55, disease incidence was 91% at 20 days after inoculation, and the lowest PR-proteins at 48 h after inoculation at 3.27 +0.27 and 2.05 +0.70 U m . To classify hybrid crosses as susceptible and resistant variety, the hybrid line 129 and line 187 were selected to test chitinase and B-1,3-glucanase activities every 24 h from 0 to 168 h. The results showed enzyme assay of line 187 could express both of PR-proteins higher than line 129 from 24 to 168 h. At 48 h after inoculation, line 187 could express the highest chitinase and B-1,3glucanase activities at 14.03 +0.87 and 13.51 + 1.04 U mL while line 129 could express chitinase and B-1,3-glucanase activities at 3.76 + 0.41 and 4.31 +0.83 U mL-'. The SDSPAGE showed accumulation of 22, 25, and 33 kDa, chitinase and B-1,3-glucanase proteins in inoculated line 187, whereas no chitinase and B-1,3-glucanase proteins were observed in line 129. In addition, 3 oil palm Tenera hybrid genotypes (line 138, line 187, and line 203) were tested for field conditions at Nuea Khlong district, Krabi province and Yan Ta Khao district, Trang province from February 2016 to October 2016. The results showed the selected Tenera hybrid genotypes had more resistance than commercial varieties especially during a raining season in July (2nd data recorded) that was severe CLS disease in oil palm nursery. This study suggested that 3 oil palm Tenera hybrid genotypes line 138, line 187, and line 203 were candidates to be a database and useful for breeding and developing new oil palm variety resistant to CLS disease. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Prince of Songkla University | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | Oil palm Varieties | en_US |
dc.title | Screening of Oil Palm Varieties Resistant against the Leaf Spot Disease Caused by Curvularia oryzae Bugnic | en_US |
dc.title.alternative | การคัดเลือกพันธุ์ปาล์มน้ำมันเพื่อต้านทานต่อโรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อรา Curvularia Oryzae Bugnic | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Natural Resources (Plant Science) | - |
dc.contributor.department | คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ | - |
dc.description.abstract-th | โรคใบจุดของปาล์มน้ํามันที่เกิดจากเชื้อรา Curvularia oryzae สามารถสร้างความ เสียหายอย่างมากทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณของต้นกล้าปาล์มน้ํามันในประเทศไทย การใช้ สารเคมีกําจัดเชื้อราเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมเพื่อควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อสาเหตุโรค แต่เมื่อใช้ สารเคมีกําจัดเชื้อราติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เชื้อสาเหตุโรคสามารถพัฒนาตัวเองขึ้นเพื่อต้านทาน ต่อสารเคมี ดังนั้นวิธีการควบคุมโรคใบจุดอีกทางหนึ่งที่มีความปลอดภัยต่อเกษตรกรและสิ่งแวดล้อม คือ การคัดเลือกพันธุ์ปาล์มน้ํามันที่ต้านทานต่อโรคใบจุด ในการศึกษาครั้งนี้ได้ทําการทดสอบและ คัดเลือกจากแม่พันธุ์ปาล์มน้ํามันจํานวน 122 หมายเลข พ่อพันธุ์ 2 หมายเลข และ 4 พันธุ์การค้า (AB C และทรัพย์ มอ.1) ด้วยวิธี detached leaf หลังการปลูกเชื้อเป็นเวลา 2 สัปดาห์ แม่พันธุ์ปาล์มน้ํามัน จํานวน 13 หมายเลข ต้านทานโรคใบจุดได้ในระดับสูงมาก (0% ระดับการปรากฏของโรค) ในขณะที่ หมายเลข 129 และพันธุ์การค้า B อ่อนแอต่อโรคมากที่สุด (100% ระดับการปรากฏของโรค) จากแม่ พันธุ์ปาล์มน้ํามันที่ต้านทานโรคได้ในระดับสูง 13 หมายเลข ทําการทดสอบการถ่ายทอดความ ต้านทานโรคใบจุดสู่ปาล์มน้ํามันพันธุ์ลูกผสมเทเนอรา บนต้นกล้าปาล์มน้ํามันภายในเรือนทดลอง ด้วยวิธี pathogenicity test จํานวน 9 หมายเลข เปรียบเทียบกับหมายเลขที่อ่อนแอต่อโรคใบจุด จาก การทดลองพบว่า ปาล์มน้ํามันพันธุ์ลูกผสมหมายเลข 187 ต้านทานต่อโรคได้สูงที่สุด โดยเริ่มแสดง อาการของโรคใบจุดที่ 12 วัน หลังการปลูกเชื้อ มีระดับการเกิดโรค ที่ 0.25 ระดับความรุนแรงของโรคที่ 5% หลังการปลูกเชื้อ 20 วัน และมีกิจกรรมของ PR-proteins (chitinase และ B-1,3-glucanase) ที่ 48 ชั่วโมงหลังการปลูกเชื้อสูงที่สุด ที่ 17.84 + 1.46 และ 14.23 + 1.3 U mL ตามลําดับ ซึ่งแตกต่าง อย่างมีนัยสําคัญกับหมายเลขอ่อนแอ (หมายเลข 129) ที่พบอาการเกิดโรคที่ 3 วัน หลังการปลูกเชื้อ มี ระดับการเกิดโรค ที่ 4.55 ระดับความรุนแรงของโรคถึง 91% หลังการปลูกเชื้อ 20 วัน และมีกิจกรรมของ PR-proteins ที่ 48 ชั่วโมงหลังการปลูกเชื้อต่ําที่สุด ที่ 3.27 + 0.27 และ 2.05 + 0.70 U mL ดังนั้นเพื่อจําแนกพันธุ์ลูกผสมเป็นสายพันธุ์อ่อนแอและสายพันธุ์ต้านทาน จึงคัดเลือกปาล์มน้ํามันพันธุ์ ลูกผสมหมายเลข 129 และ 187 มาทดสอบเปรียบเทียบกิจกรรมของ PR-proteins ทั้ง 2 ชนิด โดยวัด กิจกรรมของเอนไซม์ทุก ๆ 24 ชม. ตั้งแต่ 0 - 168 ชม. พบว่า หมายเลข 187 มีกิจกรรมของ PRproteins ทั้ง 2 ชนิดได้สูงกว่าหมายเลข 129 ตั้งแต่ 24 - 168 ชม. โดยหลังการปลูกเชื้อ 48 ชั่วโมง หมายเลข 187 มีกิจกรรมของเอนไซม์ chitinase และ B-1,3-glucanase ได้สูงที่สุดที่ 14.03 + 0.87 และ 13.51 + 1.04 U mL ในขณะที่หมายเลข 129 มีกิจกรรมของเอนไซม์ chitinase และ B-1,3glucanase ที่ 3.76 + 0.41 และ 4.31 + 0.83 U mL-1 เมื่อวิเคราะห์การสะสมของเอนไซม์ด้วยวิธี SDS-PAGE พบว่าหมายเลข 187 พบน้ําหนักโมเลกุล PR-proteins ที่ 22 25 และ 33 KDa ในขณะที่ ในหมายเลข 129 ไม่มีการปรากฏน้ําหนักโมเลกุลของ PR-proteins นอกจากนี้เมื่อทดสอบต้นกล้า ปาล์มน้ํามันพันธุ์ลูกผสมเทเนอราจากหมายเลขต้านทาน 3 หมายเลข (138 187 และ 203) เพื่อ ทดสอบความต้านทานต่อโรคใบจุดภายในสภาพแปลงปลูกของเกษตรกรในอําเภอเหนือคลอง จังหวัด กระบี่ และอําเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2559 ถึง เดือนตุลาคม 2559 พบว่า ทั้ง 3 หมายเลขสามารถต้านทานต่อโรคใบจุดได้ดีกว่าพันธุ์การค้าของเกษตรกรโดยเฉพาะอย่างยิ่งใน เดือนกรกฎาคม 2559 (การเก็บข้อมูลครั้งที่ 2) ซึ่งเป็นฤดูฝนที่มีการระบาดอย่างหนักของโรคใบจุดใน ต้นกล้าปาล์มน้ํามัน ดังนั้นปาล์มน้ํามันทั้ง 3 สายพันธุ์ คือ 138 187 และ 203 จึงสามารถนําไปใช้เป็น ข้อมูลพื้นฐานต่อการปรับปรุงและพัฒนาปาล์มน้ํามันสายพันธุ์ใหม่ที่สามารถต้านทานต่อโรคใบจุด ของปาล์มน้ํามันได้ | en_US |
Appears in Collections: | 510 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
434738.pdf | 1.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License