Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19438
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุมาพร มุณีแนม | - |
dc.contributor.author | ดารินนา ขาโฮง | - |
dc.date.accessioned | 2024-06-06T03:46:52Z | - |
dc.date.available | 2024-06-06T03:46:52Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19438 | - |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชน),2566 | en_US |
dc.description.abstract | Participation is an essential component in developing community-based tourism (CBT). The participation of people in the community will help bringing sustainability to the development of tourism in all aspects including economic, society, culture as well as environment. This study was a mixed method research that included both qualitative and quantitative methods. For the qualitative method, the data were gathered from 17 key informants whose work directly involving with Ao Pattani CBT through in-depth interviews using a semi-structure interviewing form, and analyzed using content analysis. Besides, for the quantitative method, the data were collected using questionnaires from 343 samples who live in Ao Pattani area including Muang and Yaring districts in Pattani province, and analyzed using descriptive and inferential statistics. Ao Pattani CBT was established under the 9th National Economic and Social Development Plan (2002-2006), which focused on resolving natural resource deterioration problems at natural tourist destinations. Ao Pattani CBT development was initially limited due to people in the community lack of understanding in managing CBT; therefore, CBT development was induced by relevant organizations. Currently, Ao Pattani CBT has a mixed participation pattern that includes both induced and natural participation. Besides, the level of people’s participation in managing Ao Pattani CBT was moderate (Mean = 3.0, S.D. = 1.0) and significantly different. Moreover, factors influencing participation of people in managing Ao Pattani CBT were perceived life quality, perceived environmental impact, leader and community relation, which were consistent with the quality research findings. However, the quality research findings shown new factors influencing participation of people in managing Ao Pattani CBT including perceived economic impact, public relation, community strength and networking. In addition, the study's contributions will be beneficial for relevant organizations such as government agencies, corporate organizations, and the general public in identifying factors that can possibly lead to the establishment of processes for increasing people's participation in developing sustainable CBT. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | การท่องเที่ยวโดยชุมชน | en_US |
dc.subject | รูปแบบการมีส่วนร่วม | en_US |
dc.subject | อ่าวปัตตานี | en_US |
dc.title | รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานี | en_US |
dc.title.alternative | Patterns of Community Participation in Community-Based Tourism Management at Pattani Bay | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Environmental Management (Environmental Management) | - |
dc.contributor.department | คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อม | - |
dc.description.abstract-th | การมีส่วนร่วมเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนท้องถิ่น จะนำไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ปฏิบัติหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานี จำนวนทั้งหมด 17 คน ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานี อำเภอเมือง และอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จำนวน 343 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน การท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานีเกิดขึ้นภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) ประเด็นการแก้ไขปัญหาการเสื่อมโทรมอย่างรุนแรงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส่งเสริมการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานีในระยะแรกมีข้อจำกัด เนื่องจากประชาชนในพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน จึงทำให้การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนในระยะแรกเป็นกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการชักจูง ปัจจุบันพบว่า รูปแบบการมีส่วนร่วมของกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานีเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมแบบผสมผสาน ระหว่างการมีส่วนร่วมโดยชักจูง และการมีส่วนร่วมโดยธรรมชาติ ทั้งนี้ การศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน อ่าวปัตตานีโดยรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (Mean = 3.0, S.D. = 1.0) เมื่อทดสอบระดับความแตกต่างของการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชน พบว่า การมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยว โดยชุมชนอ่าวปัตตานีมีระดับการมีส่วนร่วมแตกต่างกัน นอกจากนี้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอ่าวปัตตานี ได้แก่ ชุมชนในแหล่งท่องเที่ยว เพศ การเป็นสมาชิกกลุ่มฯ ผู้นำและความสัมพันธ์ชุมชน และการรับรู้ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม โดยปัจจัยดังกล่าวสอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงคุณภาพ อย่างไรก็ตาม ผลการวิจัยเชิงคุณภาพยังพบปัจจัยใหม่ที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในบริบทของพื้นที่อ่าวปัตตานี ได้แก่ ปัจจัยด้านการรับรู้ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ ด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ด้านความเข้มแข็งของชุมชน และด้านการสร้างเครือข่าย ทั้งนี้ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ให้เข้าใจถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าร่วมอันจะนำไปสู่การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน | en_US |
Appears in Collections: | 820 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6310920014.pdf | 5.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License