Please use this identifier to cite or link to this item:
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19350
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิชัย นภาพงศ์ | - |
dc.contributor.author | ผ่องอำไพ ธรรมอริยสกุล | - |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T09:05:46Z | - |
dc.date.available | 2024-01-25T09:05:46Z | - |
dc.date.issued | 2023 | - |
dc.identifier.uri | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19350 | - |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2566 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1) to develop a virtual learning environment model with engineering design process to enhance creative thinking skills for ninth grade students and 2) to examine the outcomes of utilizing the virtual learning environment model with engineering design process to enhance creative thinking skills for ninth grade students. The sample group for this research consisted of one classroom comprising 39 students from the ninth grade at Benjamarachutit Pattani School. The selection of the classroom was done using cluster random sampling, with a total of 10 classrooms considered and the classroom serving as the sampling unit. The research instruments included a virtual learning environment model with engineering design process, a virtual learning environment with engineering design process, and a lesson plan. Data were gathered through a suitability assessment of the virtual learning environment model with engineering design process, a quality assessment of the virtual learning environment with engineering design process, a quality assessment of the lesson plan, and an assessment of creative thinking skills. Subsequently, the collected data were analyzed using descriptive statistics, including mean, standard deviation, and percentage, as well as one-way repeated measure ANOVA and pairwise comparison using the Bonferroni method. The findings revealed that a virtual learning environment with engineering design process consisted of two core components: a virtual learning environment and an engineering design process. Each component contained specific sub-elements. The virtual learning environment encompassed five sub-elements: 1) communication, 2) collaboration, 3) resource sharing, 4) creative reflection, and 5) learner support. The engineering design process involved five steps: 1) problem definition, 2) design, 3) development, 4) evaluation, and 5) presentation. An evaluation indicated that the suitability of the virtual learning environment model with engineering design process to enhance creative thinking skills was at a high level. Furthermore, the results showed that the utilization of the virtual learning environment with engineering design process significantly improved students' creative thinking skills. The average score increased from 64.76 in the first assessment to 75.14 in the second assessment and further rose to 91.19 in the third assessment. This improvement was statistically significant at the significance level of .01. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | en_US |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand | * |
dc.rights.uri | http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ | * |
dc.subject | รูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือน | en_US |
dc.subject | สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือน | en_US |
dc.subject | กระบวนการออกแบบวิศวกรรม | en_US |
dc.subject | ทักษะความคิดสร้างสรรค์ | en_US |
dc.title | การพัฒนารูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรมที่ส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | en_US |
dc.title.alternative | Development of Virtual Learning Environment Model with Engineering Design Process to Enhance Creative Thinking Skills for Ninth Grade Students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.contributor.department | Faculty of Education (Educational Technology) | - |
dc.contributor.department | คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา | - |
dc.description.abstract-th | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรมที่ส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อศึกษาผลการใช้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรมที่ส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 39 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยของการสุ่ม (Sampling Unit) จากห้องเรียน จำนวน 10 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรม แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรม แบบประเมินคุณภาพของสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรม แบบประเมินคุณภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบประเมินทักษะความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว แบบวัดซ้ำ (One-way repeated measure ANOVA) และการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีทดสอบแบบ Bonferroni ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรม มี 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือน และกระบวนการออกแบบวิศวกรรม ซึ่งแต่ละส่วนมีองค์ประกอบย่อย ดังนี้ สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การติดต่อ สื่อสาร 2) การทำงานร่วมกัน 3) การแบ่งปันทรัพยากร 4) การสะท้อนคิดสร้างสรรค์ 5) การสนับสนุนผู้เรียน และกระบวนการออกแบบวิศวกรรมมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นการกำหนดปัญหา 2) ขั้นการออกแบบ 3) ขั้น การพัฒนา 4) ขั้นการประเมินผล 5) ขั้นการนำเสนอ และมีผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรมอยู่ในระดับมาก (2) ผลการใช้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ แบบเสมือนด้วยกระบวนการออกแบบวิศวกรรม พบว่า ทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนครั้งที่ 1 มีค่าเท่ากับ 64.76 ครั้งที่ 2 มีค่าเท่ากับ 75.14 และครั้งที่ 3 มีค่าเท่ากับ 91.19 สูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | en_US |
Appears in Collections: | 263 Thesis |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6320121506.pdf | 8.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License