Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโอภาส เกาไศยาภรณ์-
dc.contributor.authorศุภนิดา ดวงจินดา-
dc.date.accessioned2024-01-24T08:32:03Z-
dc.date.available2024-01-24T08:32:03Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19319-
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2566en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research were to 1) develop the massive open online course on coexistence in a multicultural society to promote knowledge construction and awareness of cultural values for undergraduate students, 2) compare the knowledge construction of undergraduate students before and after studying with MOOC on coexistence in a multicultural society, 3) compare the awareness of the cultural value of undergraduate students before and after studying with MOOC on coexistence in a multicultural society, and 4) study the students’ satisfaction with MOOC on coexistence in a multicultural society to promote knowledge construction and awareness of cultural values for undergraduate students. The target group consists of 60 students. The research instruments consisted of 1) a massive open online course on coexistence in a multicultural society, 2) the cultural value awareness inventory, the knowledge construction inventory, and 4) the students’ satisfaction with the MOOC scale. The findings revealed that: 1) the massive open online course on coexistence in multicultural society had the most appropriate level (𝑥̅= 4.69,S.D.= .48), 2) the students’ knowledge construction was significantly higher in the post-test than in the pre-test, 3) the students’ multicultural learning awareness was significantly higher in the post-test than in the pre-test at .05level, and 4) the students’ satisfaction with MOOC was ranked at a high level (𝑥̅= 4.29, S.D. = .83).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชนen_US
dc.subjectพฤติกรรมการสร้างความรู้en_US
dc.subjectความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมen_US
dc.titleการพัฒนาการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน เรื่องการอยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างความรู้และความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรม สำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษาen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Massive Open Online Course on Coexistence in Multicultural Society to Promote Knowledge Construction and Awareness of Cultural Values for Undergraduate Students.en_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Education (Educational Technology)-
dc.contributor.departmentคณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา-
dc.description.abstract-thการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับ มหาชน เรื่องการอยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างความรู้และ ความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรม สำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา 2) ศึกษาพฤติกรรมการสร้าง ความรู้ของผู้เรียนระดับอุดมศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับ มหาชน เรื่องการอยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม 3) ศึกษาความตระหนักในคุณค่าทาง วัฒนธรรมของผู้เรียนระดับอุดมศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการศึกษาออนไลน์ระบบเปิด สำหรับมหาชน เรื่องการอยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของ ผู้เรียนในระดับอุดมศึกษาที่เรียนด้วยการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน เรื่องการอยู่ร่วมกัน ในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย นักศึกษาปริญญาตรีจำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) การศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน เรื่อง การอยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม 2) แบบวัดพฤติกรรมการสร้างความรู้3) แบบวัดความตระหนัก ในคุณค่าทางวัฒนธรรม และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาออนไลน์ระบบเปิดสำหรับมหาชน เรื่องการ อยู่ร่วมกันในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรม มีระดับความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥̅=4.69, S.D.=.48) 2) ผู้เรียนมีพฤติกรรมการสร้างความรู้เฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง 3) ผู้เรียน มีความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .5 และ 4) ผู้เรียนมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับพึงพอใจมาก (𝑥̅= 4.29 , S.D. = .83)en_US
Appears in Collections:263 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6320121509.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons