Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19281
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีระพันธุ์ สันติเทวกุล-
dc.date.accessioned2024-01-08T02:22:37Z-
dc.date.available2024-01-08T02:22:37Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.urihttps://link.psu.th/3Ts5y-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19281-
dc.description.abstractThe apparatus which could be measured both contact and rubber resistance was made. Contact resistance between bare metals and rubber was studied. The metal were brass, gold, silver and platinum. Contact resistivity, as the way to characterize contact, was also evaluated its possibility. Contact resistance was independent from type of metals. Contact resistivity could be used to characterize a contact, but current density should be specified. Contact resistance measured from this apparatus was reasonable, but an error in rubber resistance was appeared. This could be caused by high contact resistance of the needles which were used as voltage probes and position of needles.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectความต้านทานไฟฟ้าen_US
dc.subjectยางen_US
dc.subjectโลหะen_US
dc.titleความต้านทานไฟฟ้าสัมผัสระหว่างยางธรรมชาติผสมเขม่าดำกับโลหะen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยเรื่อง ความต้านทานไฟฟ้าสัมผัสระหว่างยางธรรมชาติผสมเขม่าดำกับโลหะen_US
dc.title.alternativeContact resistance between metal-carbon black-filled natural rubbersen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Sciecnce and Technology (Science)-
dc.contributor.departmentคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาวิทยาศาสตร์-
dc.description.abstract-thงานวิจัยนี้ได้สร้างและศึกษาอุปกรณ์วัดความต้านทานขั้วสัมผัสระหว่างโลหะกับยาง และความต้านทาน ของยาง ศึกษาความต้านทานขั้วสัมผัสของโลหะเปลือยชนิด ทองเหลือง ทอง เงิน และแพลตตินัม ศึกษาความเป็นไป ได้ในการจําแนกขั้วสัมผัสระหว่างโลหะกับยางโดยการใช้สภาพต้านทานขั้วสัมผัส พบว่าความต้านทานขั้วสัมผัสของโลหะเปลือยนี้ไม่ขึ้นกับชนิดของโลหะ และอาจใช้สภาพต้านทานขั้ว สัมผัสจําแนกขั้วสัมผัสได้ แต่ต้องระบุความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาให้ค่าความต้านทานขั้วสัมผัสที่เชื่อถือได้ แต่ให้ค่าความต้านทานยางที่ผิดพลาด ทั้งนี้ เพราะความต้านทานขั้วสัมผัสของเข็มซึ่งใช้วัดความต่างศักย์ มีค่ามากเกินไป นอกจากนี้ตําแหน่งของเข็มซึ่งอยู่ตรง กลางรูของอิเล็กโทรดก็ทําให้เกิดความผิดพลาดด้วยเช่นกันen_US
Appears in Collections:722 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.