Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19275
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรุณพร อิฐรัตน์-
dc.contributor.authorจินดาพร ภูริพัฒนาวงษ์-
dc.date.accessioned2024-01-05T07:16:38Z-
dc.date.available2024-01-05T07:16:38Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.urihttps://link.psu.th/1GXjR-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19275-
dc.description.abstractThe objectives of this survey research were to study the knowledge, attitude, and practice in drug use of patients who obtained service from the out-patient department of government hospitals in southern Thailand and to find the relationship between the population, social and economic factors, sources of knowledge, and drug-using behaviors of the patients. A simple random sampling was used to select 1,819 out-patients receiving service from government hospitals in southern Thailand. A questionnaire which had been tested for its content validity and objectivity was used. The data were analyzed by the chi-square test, frequency, and percentage. The results of the study were as follows: Of the sample group of 1,819 out-patients, most of them were female (60.5 percent), Buddhist (83.8 percent); more than 75.0 percent of them had a monthly income of less than 5,000 baht, had finished primary education (39.1 percent) and 64.8 percent lived outside municipal areas. The source of knowledge for most of the sample group was medical doctors (38.2 percent), medical labels (12.6 percent), and only 9.1 percent of the sample group obtained the drug knowledge from pharmacists which is the most correct source of knowledge. Most of the sample group (49.6 percent), chose to obtain service from a government hospital as their first choice; a private clinic (24.0 percent) for reasons of convenience, speed of service and a short distance from home. More than 50 percent of the population in the South had a moderate level of correct knowledge and attitude but their behaviors in using drugs correctly was at a high level. The factors relative to knowledge, attitude, and methods in drug use were age, occupation, income, education, residence, and source of knowledge. That is to say that the samples whose ages were between 21-30 years who were government officials or state enterprise employees with a monthly income of 5,000 baht or more, holders of a bachelor's degree or higher, lived in an urban area had a high level of correct knowledge, attitude and practice in drug use. Pharmacists were the most correct source of knowledge (50.0 percent) followed by mass media and medical labels which accounted for 40.5 and 39.1 percent, respectively. However, mass media was the source of knowledge which provided the sample group with correct attitude more often than pharmacists, 43.3 and 41.6 percent, respectively. Public Health Messengers and Public Helath Volunteers were the sources of knowledge which provided most of the sample groups with correct practice in drug use (93.4 percent) followed by mass media (92.5). The source of service which provided the most correct knowledge, attitude, and practice in drug use was private clinics. Religion was another factor relative to correct attitude and practice, but not to the knowledge of the sample group. In addition, it was found that more females than males had correct practice in drug use which was statistically significant at the level of 0.05. As for the relationship between knowledge, attitude, and practice in drug use, the coefficient value was found to be very low and was not statistically significant at the level of 0.05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.subjectการใช้ยา ไทย (ภาคใต้)en_US
dc.subjectข้อมูลภาคใต้en_US
dc.titleความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการใช้ยาของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการจากโรงพยาบาลของรัฐในภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeรายงานการวิจัยเรื่อง ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการใช้ยาของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการจากโรงพยาบาลของรัฐในภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeKnowledge, attitude, and practice of drug use of out patients in government hospitals in southern Thailanden_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.contributor.departmentFaculty of Pharmaceutical Sciences (Clinical Pharmacy)-
dc.contributor.departmentคณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก-
dc.description.abstract-thการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติในการใช้ยาของผู้ป่วยนอกที่ มารับบริการจากโรงพยาบาลของรัฐบาล ที่ตั้งอยู่ในเขตภาคใต้ของประเทศไทย และศึกษาปัจจัยด้าน ประชากร สังคม เศรษฐกิจ และแหล่งความรู้เรื่องยาของผู้รับบริการที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมใช้ยา ของผู้รับบริการ การวิจัยนี้ใช้การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย simple random sampling) โดยใช้ขนาด ตัวอย่างที่เป็นผู้ป่วยนอกที่เข้ารับการบริการจากโรงพยาบาลของรัฐในเขตภาคใต้ของประเทศไทย จํานวนทั้งหมด 1,819 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ที่ได้หาความตรงในเนื้อหา และความเป็นปร นัยก่อนนํามาใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ chi-square ความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ กลุ่มตัวอย่างจํานวน 1,819 ราย ส่วนใหญ่เป็นหญิง (ร้อยละ 60.5) มีอายุอยู่ระหว่าง 21-30 ปี (ร้อยละ 33.0) นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 83.8) มีรายได้ต่ํากว่า 5,000 บาทมากกว่าร้อยละ 75.0 การศึกษาอยู่ในระดับ ประถมศึกษามากที่สุด (ร้อยละ 39.1) และอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลถึงร้อยละ 64.8 แหล่งความรู้ที่กลุ่มตัวอย่างได้ รับความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาได้จากแพทย์มากที่สุดคือร้อยละ 38.2 รองลงมาได้รับจากฉลากยาร้อยละ 12.6 แต่ได้ รับความรู้จากเภสัชกรเพียงร้อยละ 9.1 ซึ่งเป็นความรู้ที่ถูกต้องในระดับมากมากที่สุด และกลุ่มตัวอย่างนิยมไปรับ การบริการจากโรงพยาบาลของรัฐเป็นอันดับแรกร้อยละ 49.6 รองลงมาคือคลินิคแพทย์ร้อยละ 24.0 เหตุผลที่ เลือกคือความสะดวก รวดเร็ว และอยู่ใกล้กับที่พักมากกว่าร้อยละ 50 ประชากรในภาคใต้มีระดับความรู้ ทัศนคติ ที่ถูกต้องในระดับปานกลาง แต่มีการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างถูกต้องในระดับสูง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับ ความรู้ ทัศนคติ และวิธีการปฏิบัติของประชากรตัวอย่างคือ อายุ อาชีพ รายได้ การศึกษา แหล่งที่อยู่อาศัย และแหล่งที่มาของความรู้ กล่าวคือ ผู้ที่มีอายุระหว่าง 21-30 ปี อาชีพรับราชการแลรัฐวิสาหกิจ รายได้สูงกว่า 5,000 บาทขึ้นไป ระดับการศึกษาขั้นปริญญาตรี หรือสูงกว่าและมีที่อยู่ในเขตเมือง จะมีความรู้ทัศนคติและการ ปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ยาในระดับมาก มากที่สุด ส่วนแหล่งความรู้ที่กลุ่มตัวอย่างได้รับ พบว่าเภสัชกรเป็นแหล่ง ความรู้ที่ให้ความรู้ถูกต้องมากที่สุดร้อยละ 50.0 รองลงมา คือสื่อมวลชน และฉลากยา ร้อยละ 40.5 และ 39.1 ตามลําดับ แต่สื่อมวลชนเป็นแหล่งความรู้ที่ทําให้กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติที่ถูกต้องมากกว่าเภสัชกร คือร้อยละ 43.3 และ 41.6 ตามลําดับ ผสส. และ อสม. เป็นแหล่งที่ให้ความรู้ที่ทําให้กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติในการใช้ยาถูกต้อง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 93.4 รองลงมาคือสื่อมวลชน ร้อยละ 92.5 แหล่งบริการที่ให้ความรู้ ทัศนคติ และวิธีการ ปฏิบัติในการใช้ยาที่ถูกต้องมากที่สุดคือ คลีนิคแพทย์ ส่วนศาสนาก็เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทัศนคติ และวิธีการปฏิบัติในการใช้ยาที่ถูกต้อง และปัจจัยด้านศาสนาไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้ของกลุ่มตัวอย่าง นอกจากนี้ พบว่า เพศหญิงมีการปฏิบัติตัวในการใช้ยาได้ถูกต้องมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 ส่วนความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตัวเรื่องการใช้ยา พบว่า มีค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ํามาก และความสัมพันธ์นี้ไม่มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
Appears in Collections:560 Research

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in PSU Knowledge Bank are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.