Please use this identifier to cite or link to this item: http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิต เฉลิมยานนท์-
dc.contributor.authorณัฐรัตน์ ไชยพลฤทธิ์-
dc.date.accessioned2023-12-20T08:39:39Z-
dc.date.available2023-12-20T08:39:39Z-
dc.date.issued2023-
dc.identifier.urihttp://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/19253-
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม), 2566en_US
dc.description.abstractIn this study, mixtures of Songkhla local clay and rubber wood ash were studied as a landfill liner. Benson and Daniel showed that suitable liner properties consist of a hydraulic conductivity lower than 1x10-7 cm/s, an unconfined compressive strength not less than 200 kPa and a volumetric shrinkage strain lower than 4%. In order to determine an appropriate mixture, the clayrubber wood ash ratios of 100:0 and 80:20 were used. For the mixture of 80:20, incubation times of 0, 7, and 28 days were employed. Experimental results show that for the 100:0 mixture (clay only) although its coefficient of hydraulic conductivity is lower than 1x10-7 cm/s but it is not suitable for use as a liner because its unconfined compressive strength and volumetric shrinkage strain are less than 200 kPa and more than 4%, respectively. On the other hand, for the 80:20 mixture with all incubation times, the test results meet the specified criteria. Hence, it is suitable for use as the landfill liner.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์en_US
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand*
dc.rights.urihttp://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/*
dc.subjectชั้นกันซึมดินเหนียวบดอัดen_US
dc.subjectค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน้ำen_US
dc.subjectค่ากำลังอัดแกนเดียวen_US
dc.subjectค่าการหดตัวเชิงปริมาตรen_US
dc.titleการประเมินความเหมาะสมของการใช้ดินท้องถิ่นจังหวัดสงขลาผสมเถ้าลอยไม้ยางพาราสำหรับชั้นกันซึมของบ่อฝังกลบมูลฝอยen_US
dc.title.alternativeAssessment of Utilization of Local Songkhla Soil – Rubber ash Mixture as Landfill Lineren_US
dc.typeThesisen_US
dc.contributor.departmentFaculty of Engineering Civil Engineering-
dc.contributor.departmentคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา-
dc.description.abstract-thในงานวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการใช้วัสดุผสมจากดินเหนียวท้องถิ่น จังหวัดสงขลาและเถ้าลอยไม้ยางพารา สําหรับใช้เป็นชั้นกันซึมบ่อฝังกลบมูลฝอย งานวิจัยของ Benson และ Daniel แสดงให้เห็นว่าช่วงของค่าคุณสมบัติที่เหมาะสมของชั้นกันซึม ประกอบด้วยค่า สัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน้ําต้องมีค่าต่ํากว่า 1x10 cm/s ค่ากําลังอัดแกนเดียวต้องไม่น้อยกว่า 200 kPa และค่าการหดตัวเชิงปริมาตรต้องต่ํากว่า 4% ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ใช้อัตราส่วนของดิน เหนียวต่อเถ้าลอยไม้ยางพาราของวัสดุผสมโดยน้ําหนักแห้ง ได้แก่ 100:0 และ 80:20 และมีการแปร ผันระยะเวลาในการ บ่มที่ 0, 7 และ 28 วัน จากผลการศึกษาพบว่าดินเหนียวอย่างเดียว (อัตราส่วน 100:0) ถึงแม้ว่ามีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านของน้ําต่ํากว่า 1x10 cm/s แต่ก็ยังไม่เหมาะสมในการ นําไปใช้เป็นชั้นกันซึมเนื่องจากมีค่ากําลังอัดแกนเดียวต่ํากว่า 200 kPa และค่าการหดตัวเชิงปริมาตร มากกว่า 4% อย่างไรก็ตาม สําหรับวัสดุผสมในอัตราส่วน 80:20 ในทุกระยะเวลาการบ่ม ผลการ ทดสอบได้ค่าทุกคุณสมบัติผ่านเกณฑ์ที่เหมาะสมตามที่กําหนดไว้ ดังนั้นวัสดุผสมในอัตราส่วน 80:20 จึงเป็นอัตราส่วนที่เหมาะสม ในการใช้เป็นชั้นกันซึมของบ่อฝังกลบขยะมูลฝอยen_US
Appears in Collections:220 Thesis

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6310120004.pdf5.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons